Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีหลักการพยาบาลครอบครัว แบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลด้วยความเอื้ออา…
แนวคิดทฤษฎีหลักการพยาบาลครอบครัว แบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลด้วยความเอื้ออาทร
ระยะพัฒนาการของครอบครัว
ระยะที่ 7 วัยกลางคน (families of middle years)
เริ่มตั้งแต่บุตรคนสุดท้ายแต่งงานแยกครอบครัวถึงวัยเกษียณ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ
การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการดำเนินชีวิต
การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในครอบครัว
ระยะที่ 2 ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร (Early childbearing families)
บุตรคนแรก-บุตรคนแรกอายุ 2.5 ปีหรือ 30 เดือน
-บิดามารดาปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
-การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดามารดา
-การจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัวให้เหมาะสม
-การวางแผนครอบครัวเป็นสิ่งจำเป็นระยะหลังคลอด 6 สัปดาห์
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
การดูแลทารกแรกเกิด เช่น สุขภาพทารกแรกเกิด ไข้หลังให้วัคซีน
การดูแลหญิงหลังคลอด เช่น ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการให้วัคซีน เช่น การประเมินภาวะโภชนาการ น้ำหนักตัว พัฒนาการช่วงวัย
ระยะที่ 3 ระยะมีบุตรก่อนวัยเรียน (Pamilies with preschool children)
บุตรคนแรกอายุ 2.5 ปี -5 ปี
การจัดสิ่งแวดล้อม, การป้องกันอุบัติเหตุ, การเตรียมความพร้อมบุตรก่อนไปโรงเรียน
การทำหน้าที่อบรมสั่งสอนบุตร
การจัดการด้านเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับครอบครัว
การคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีระหว่างคู่สมรส
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน เช่น การแปรงฟัน การดูแลความสะอาดร่างกาย
การส่งเสริมพัฒนาการ
การป้องกันอุบัติเหตุในเด็กและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การวางแผนครอบครัวในการมีบุตรคนต่อไปหรือการทำหมัน
ระยะที่ 1 ระยะครอบครัวเริ่มต้น (Beginning families)
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
การสอนการวางแผนครอบครัว
การตรวจสุขภาพก่อนการสมรส เช่นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคทางพันธุกรรม (ธาลัสซีเมีย อาการทางจิต
ตั้งแต่สมรส-การตั้งครรภ์บุตรคนแรก
-สร้างความพึงพอใจในสัมพันธภาพของคู่สมรส
-การวางแผนครอบครัว
-ความสัมพันธ์กับญาติของคู่สมรสแต่ละฝ่าย
ระยะที่ 4 มีบุตรวัยเรียน (families with school-age children)
-ส่งเสริมบุตรด้านการเรียน
-การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนของบุตร
-การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
-การจัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
การดูแลสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับเด็ก เช่น การจัดให้มีห้องส่วนตัว
การดูแลความสะอาดร่างกายในเด็กวัยเรียน โรคที่เกี่ยวข้องในเด็กวัยเรียน เช่น โรคผิวหนัง เหา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ทั้งในเพศชาย หญิง
บุตรคนแรกอายุ 6-13 ปี
ระยะที่ 5 ครอบครัวมีบุตรวัยรุ่น (families with teenagers)
การปรับตัวของบิดา มารดา ในการเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่น
การให้ความรู้ความเข้าใจบุตรวัยรุ่นในเรื่องเพศสัมพันธ์
การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีของสมาชิกในครอบครัว
การอบรมสั่งสอนสมาชิกในครอบครัวในการดำเนินชีวิต
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
•เพศศึกษา
•สิ่งเสพติด
•จิตวิทยาวัยรุ่น
•การปรับตัวของครอบครัว / วัยรุ่น
บุตรคนแรกอายุ 13-20 ปี
ระยะที่ 6 แยกครอบครัวใหม่ (Launching center families)
บุตรคนแรกเริ่มแต่งงาน- บุตรคนสุดท้าย
การปรับตัวและบทบาทของบิดา มารดา ปู่ ย่า
การคงไว้ซึ่งกิจกรรมชุมชนและเพื่อนบ้าน
การปรับตัวของครอบครัวเมื่อสมาชิกมีการแยกครอบครัว
การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ระยะที่ 8 วัยชรา (families in retirement and old age)
การคงไว้ซึ่งแนวการดำเนินชีวิตเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
การปรับตัวเข้ากับชีวิตหลังหยุดงานประจํา
การปรับระบบการใช้ง่ายและฐานะทางเศรษฐกิจ
การสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การเตรียมการสูญเสียคู่สมรส
การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในวัยอื่นๆการยอมรับ
การส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เช่น อาหาร ออกกำลังกาย แต่งตัว
โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุที่เป็นโรคประจําตัว
โรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย เช่น โรคข้อเสื่อม, มดลูกหย่อน. ต่อมลูกหมากโต
อาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
การได้รับการดูแลจากครอบครัว
Family Development Theory