Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1.การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (ชนิดของการสื่อสาร…
1.การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ความหมาย ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
ความสำคัญของการสื่อสาร
เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกเพศและวัย
เกิดความสัมพันธ์และเข้าใจกันระหว่างบุคคลและสังคม
ช่วยพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของสังคม
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
แจ้งให้ทราบข่าวสาร (Inform) เรื่องราวต่าง ๆ
สอนและให้การศึกษา (Teach or education) ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ
สร้างความบันเทิง (Please of entertain)
ชักจูงใจให้รู้สึกคล้อยตาม (Propose or persuade)
เพื่อเรียนรู้ (Learn) เกี่ยวกับสาระวิชาความรู้
เพื่อตัดสินใจ (Dispose or decide)
ความหมายของการสื่อสาร
กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ความต้องการจากผู้ส่งสารผ่านการพูด เขียน หรือสัญลักษณ์อื่น ๆ ไปยังผู้รับสาร
องค์ประกอบของการสื่อสาร
สาร (Message)
เรื่องราวที่มีความรู้ ความคิด ความต้องการ อารมณ์ ที่ถ่ายทอดจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับ
ช่องทางการสื่อสาร (Media or channel)
แบ่งตามวิธีเข้ารหัสและถอดรหัส
สื่อวัจนะ (Verbal) เช่น คำพูด ตัวเลข
สื่ออวัจนะ (Nonverbal) เช่น สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง
แบ่งตามประสาทการรับรู้
สื่อที่รับรู้ด้วยการเห็น เช่น นิตยสาร
สื่อที่รับรู้ด้วยการฟัง เช่น วิทยุ
สื่อที่รับรู้ด้วยการเห็นและการฟัง เช่น โทรทัศน์
ผู้ส่งสาร (Sender)
ต้องเป็นคนที่มีความรู้ มีทักษะในการสื่อสาร
ใช่ช่องทางการสื่อสารได้เหมาะสม แยะแยะจัดระเบียบข่าวสารได้
บุคลิคดี น่าเชื่อถือ ช่างสังเกต เรียนรู้เร็ว จริงใจ เปิดเผย สุขุมรอบคอบ
คิดสร้างสรรค์ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ มีเทคนิคการจูงใจ มีมนุษยสัมพันธ์ดี
ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
บุคคล หรือกลุ่มคน ที่รับสารจากผู้ส่งสารมาทำการแปล ตีความหมายและแสดงกิริยาตอบกลับ
ความเข้าใจและการตอบสนอง (Feedback)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร
ตัวบุคคล
ทักษะในการสื่อสาร
เจตคติต่อตัวเอง
ความรู้และพื้นฐานทางวัฒนธรรม
ด้านสาร
มีคุณค่าสาระเพียงพอครบถ้วน ทำให้เกิดความเข้าใจ
สภาพการสื่อสาร
การสื่อสารสองทางดีกว่าทางเดียว แต่การสื่อสารหลายต่อ จะส่งผลให้เกิดปัญหามากขึ้น
ชนิดของการสื่อสาร
ภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Communication)
ระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication)
การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (Large Group Communication)
การสื่อสารในองค์กร (Mass Communication)
การสื่อสารมวลชน (Organizational Communication)
การสื่อสารแบบเผชิญหน้า
การสื่อสารแบบไม่เผชิญหน้า
การสื่อสารทางเดียว
การสื่อสารสองทาง
หลักการและทักษะพื้นฐานการสื่อสาร
เข้าใจความคิดตัวเอง รู้จุดมุ่งหมาย
คำนึงถึงกาลเทศะ บุคคล สถานที่
รอจังหวะที่เหมาะสม
ระมัดระวังน้ำเสียงให้อยู่ในโทนปกติ ออกเสียงชัดเจน มีหางเสียง
ใบหน้าแจ่มใสยิ้มแย้ม
กล่าวสวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ
เทคนิคพื้นฐานเพื่อการสื่อสาร
การรู้จักและจำได้
การถาม
การคำคำถามปลายปิด
การถามคำถามปลายเปิด
การฟังอย่างตั้งใจ
การสังเกต
การให้ข้อมูล
การให้กำลังใจ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
เชิงสังคม (Social Relationship)
การทำกิจกรรมร่วมกัน แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด
แบบใกล้ชิด (Intimate Relationship)
ผูกพันธ์ทางอารมณ์ มีความห่วงใย มีความต้องการจะช่วยเหลืออีกฝ่าย เนื้อหาการสื่อสารอาจเป็นเรื่องส่วนตัว
เชิงวิชาชีพ (Professional Relationship)
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด ระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการ เพื่อบำบัดให้สามารถดำรงตนในสังคมได้ มีระยะเวลาแน่นอนในการเริ่มต้นและสิ้นสุดสัมพันธภาพ