Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง และการดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากซีด (NIC (3…
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง
และการดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากซีด
Patho
การสูญเสียเม็ดเลือดแดงจากกระแสเลือด จากการเสียเลือดทั้งชนิดเฉียบพลัน จะเกิดภาวะที่ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงหรือปริมาณฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นโปรตีนภายในเม็ด เลือดแดงทำหน้าที่ในการขนส่งออกซิเจนจากปอดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆน้อยลงส่งผลให้อวัยวะหรือเนื้อเยื้อได้รับ ออกซิเจนลดลงส่งผลให้เกิดอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย เมื่อยหล้า
สาเหตุ
hypovolemia ภายหลังการผ่าตัด Open aneurysmectomy
NIC
3.Absolute bed rest จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา แนะนำผู้ป่วยค่อยๆเปลี่ยนท่า
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการจัดลำดับความสำคัญของ ADL และกิจกรรมที่ต้องการ คือ complete bed bath วันละ 2 ครั้ง และ perineal care
5.แนะนำหรือให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจกรรมกับผู้ป่วย กระตุ้นการพลิกตะแคงตัวเท่าที่จำเป็น ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
6.บอกผู้ป่วยให้หยุดทำกิจกรรม หากมีอาการใจสั่นเจ็บ หน้าอก หายใจถี่ อ่อนแอหรือเวียนศีรษะเกิดขึ้น
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง หรือสังเกต BP, pulse, and respirations หลังทำกิจกรรม บันทึกหากมีการตอบสนองที่ไม่ถึงประสงค์ต่อระดับกิจกรรมที่เพิ่มมากขึ้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของ heart rate , BP, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, สับสน, หายใจลำบาก, หายใจเร็ว, เนื้อเยื่อส่วยปลายมีสีเขียวคล้ำ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมและทำให้ร่างกายของผู้ป่วยอบอุ่น
1.ประเมินความสามารถของผู้ป่วยและการทำกิจวัตรประจำวัน บันทึกอาการ เช่น อ่อนเพลีย เมื่อยหล้า เป็นต้น
บันทึกการเปลี่ยนแปลงของกำลังกล้ามเนื้อ
NOC
เพิ่มความทนในการทำกิจวัตรประจำวัน
แสดงให้ในสัญญาณชีพที่ลดลงต่อความทน ได้แก่ BP,Pulse,Respiration ให้อยู่ในช่วงปกติของคนไข้
3.ค่า Hct อยู่ในช่วง 37 - 49%
และค่า Hb อยู่ในช่วง 13.0 - 16.0 g/dL
Objective data
ผู้ป่วยหญิงวัยชรา อายุ 64 ปี มีสีหน้าอ่อนเพลีย
PT=14.2 sec
PTT= 25.9 sec
INR= 1.12
Hct= 30.7%
Subjective data
แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Infected Saccular infrarenal AAA
ประเมินผล
BP=122-130/ PR=112-120
RR= 26-20 Hct=28.7%