Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขาดประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งเนื่องจากใส่เครื่องช่วยหายใจเพื่อก…
ขาดประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งเนื่องจากใส่เครื่องช่วยหายใจเพื่อการรักษา
Patho
ผู้ป่วยใส่ท่อหลอดลมคอแบบ endotracheal tubeและรีเฟล็กซ์สำหรับป้องกัน(Protective reflexes)ของซีเลีย การไอจามทำงานไม่ได้ ซึ่งการใส่หลอดลมคอสามารถทำให้เกิดอันตรายต่อหลอดลม ได้แก่ การทำลายเนื้อเยื่อบริเวณทางเดินหายใจส่วนต้นและหลอดลม จากการที่ epiglottis เปิดตลอดเวลา ทำให้กล่องเสียงและกล่องลมบวม จะเกิดการหลั่ง mucous ออกมาและมีเสมหะคั่งค้างรวมไปถึงอุดกั้นบริเวณหลอดลมได้
สาเหตุ
ผู้ป่วยไม่สามารถไอ ขับเสมหะออกมาได้ด้วยตนเอง
ประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการไอสำลักหรือมีสิ่งคัดหลั่งค้างในสาย ฟังlungเสียงclear ไม่มี adventitous sound
NOC
เพื่อรักษาและทำทางเดินหายใจของผู้ป่วยให้โล่ง ไม่ให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ป้องกันไม่ให้เกิดการสำลักหรือสิ่งคัดหลั่งคั่งค้าง เพิ่มความสามารถในการขับเสมหะ
ไม่มีเสียงเสมหะในทางเดินหายใจ
NIC
สังเกตหากผู้ป่วยมีอาการไอมากเกินไป, หายใจลำบากเพิ่มขึ้น, มีสัญญาณเตือนแรงดันสูงที่ดังขึ้นที่เครื่องช่วยหายใจ, มีsecretionในET tube, และฟังได้เสียง rhonchi
5.ทำsuctionเท่าที่จำเป็นเมื่อผู้ป่วยมีเสมหะและประเมินความต้องการการดูดเสมหะทุก 2 ชม. จำกัดระยะเวลาการดูดถึง 10 วินาที เลือกสายสวนดูดที่เหมาะสม hyperventilateก่อนและหลังการใส่สายสวน โดยแต่ละครั้งให้ใช้ออกซิเจน 100% ถ้าเหมาะสมใช้ช่องระบายอากาศมากกว่า Ambu- bag ซึ่งมีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของ barotrauma
ตรวจสอบการวาง ET tube และทำเครื่องหมายหรือขีดเส้นบนท่อบริเวณมุมปากผู้ป่วยเพื่อเอาไว้เปรียบเทียบในกรณีสายมีการเลื่อนหลุด หากมีการเลื่อนหลุดให้ติดสายใหม่ด้วยเทป
สอนผู้ป่วยให้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเมินการเคลื่อนไหวของทรวงอกและฟังเสียงหายใจ เสียงปอด
จัดท่านอนปรับเตียงให้อยู่ในท่า fowler's positionระหว่าง 30-45 องศา และพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ประเมินการหายใจ การอุดตันที่เกิดจากการสะสมของเสมหะ น้ำลาย ดูตำแหน่งของสาย ET tube
Objective data
ไม่สามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
ไอด้วยตนเองไม่ได้
ผู้ป่วยสีหน้าอ่อนเพลีย นอนอยู่บนเตียง
secretion ลักษณะขาวขุ่น ไม่เยอะ