Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hyperglycemia เนื่องจากร่างกายอยู่ในภาวะวิกฤต (ประเมินผล (HR= 124 bpm,…
Hyperglycemia
เนื่องจากร่างกายอยู่ในภาวะวิกฤต
Patho
การตอบสนองประการหนึ่งของร่างกายต่อภาวะวิกฤตคือ ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเฉียบพลัน (stress hyperglycemia)เมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะวิกฤตหรือภาวะเครียดจะมีการกระตุ้นการทำงานของสารต่างๆ อาทิ cytokines, ฮอร์โมนที่ตอบสนองต่อภาวะเครียด (stress hormones) เช่น catecholamine (adrenaline, noradrenaline), glucagon, cortisol และ growth hormone เป็นต้น การหลั่งของฮอร์โมนต่างๆที่กล่าวมานั้นจะทำให้เกิดกระบวนการสร้างกลูโคส (gluconeogenesis) เพิ่มขึ้นจากการย่อยสลาย glycogen ที่สะสมอยู่ในร่างกาย (glycogenolysis) จึงมีผลทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างเฉียบพลัน และหากผู้ป่วยมีภาวะเครียดอยู่นานระดับน้ำตาลใ เลือดก็จะสูงอยู่ได้นานเช่นเดียวกัน ปัจจัยเสริมอีกหนึ่งอย่างคือการที่ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งจะทำให้การทำงานของอินซูลินผิดปกติไป ทั้งในด้านปริมาณ ของอินซูลินที่ไม่เพียงพอ และการเปลี่ยนแปลงของ insulin receptors ซึ่งจะมีความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของร่างกายก่อให้เกิดระดับนํ้าตาลในเลือดสูงเช่นเดียวกัน
NOC
ไม่มีการเหงื่อออก ตัวเย็น หรือผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ คลื่นไส้อาเจียน ซึมลง หรือหมดสติ
สัญญาณชีพปกติอุณหภูมิ 36.5 – 37.4 องศาเซลเซียส ชีพจร 80 – 100 ครั้ง/นาที สมํ่าเสมออัตราการ หายใจ 16 – 20 ครั้ง/นาที สมํ่าเสมอ ความดันโลหิต 90/60 – 130/90 mmHg
ระดับนํ้าตาลในเลือดอยูในเกณฑ์
80 – 180 mg/dL
NIC
วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและเจาะ DTX ทุก 6 ชั่วโมง
ดูแลการได้รับยาลดระดับนํ้าตาลอินซูลิน Regular insuline 8U SC ตามแผนการรักษาของแพทย์ และการสังเกตอาการผู้ป่วยหลังได้รับอินซูลิน เช่น มึนงง ปวดศีรษะ หาว ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เหงื่อออก ตัวเย็น ผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋
สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย เช่น ซึม กระวนกระวาย ชักหรือหมด สติ เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารนํ้าทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา 0.9%NSS 1000ml IV rate 100 ml/hr เพื่อป้องกันภาวะขาดนํ้า
5.ติดตามผลระดับนํ้าตาลในเลือดเพื่อประเมินระดับนํ้าตาลอย่างใกล้ชิด
เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
สาเหตุ
ร่างกายผู้ป่วยอยู่ในภาวะวิกฤตก่อให้เกิด
stress hormone
Objective data
BP=124-137/61-82 mmHg
HR=112-120 ครั้ง/นาที
BT = 39.1-29.3 องศาเซลเซียส
RR= 30-36
DTX = 187 (11.00 น. 1 สิงหาคม 2562 )
Subjective data
จากประวัติผู้ป่วยมีโรคประจำตัว คือ DM type II
ผู้ป่วยพยักหน้าตอบเมื่อถามถึงอาการกระหายน้ำ
ประเมินผล
HR= 124 bpm
RR=26 bpm
BP= 113/71 mmHg
BT=38.6 degree celcius
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี
DTX (2 ส.ค 2562) = 157 mg/dL