Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ธรรมชาติของภาษา (ลักษณะธรรมชาติของภาษา (ภาษาเป็นสิ่งสมมติ,…
ธรรมชาติของภาษา
ลักษณะธรรมชาติของภาษา
ภาษาเป็นสิ่งสมมติ
ภาษาหมายถึงภาษาพูด
ภาษามีโครงสร้างหรือองค์ประกอบ
ภาษามีระบบกฎเกณฑ์แน่นอนในตัวเอง
ภาษามีจำนวนประโยคไม่รู้จบ ภาษามีเสียงจำกัด
ภาษาเป็นสิ่งที่ได้ทางวิทยาศาสตร์
ความหมายของภาษา
วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจ
เครื่องสื่อความหมายอย่างหนึ่ง
เสียงพูดที่มีระเบียบและความหมาย
ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความหมาย
ระบบสัญลักษณ์ในเชิงคำพูดหรือเชิงการเขียนที่มนุษย์เท่านั้นกำหนดขึ้น
มโนทัศน์เกี่ยวกับภาษา
ภาษาถิ่น
ภาษาไทยถิ่นเหนือ กลาง อีสาน ใต้
ภาษาเหล่านี้มีคุณสมบัติหรือ
เอกลักษณ์ประจำตัว
ภาษามาตรฐาน
ภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐานที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน
วิธภาษา
วิธภาษาที่แตกต่างกันโดยลักษณะทางสังคม
วิธภาษาที่แตกต่างกันโดยสถานการณ์การ
ใช้หรือหน้าที่
ภาษาย่อย
มโนทัศน์ภาษาย่อย เหมือนกับ ภาษาถิ่น
ภาษาที่ต่างจากอีกภาษาด้วยปัจจัยทางสังคมของผู้พูด
พลวัตรของภาษาในกระแสปัจจุบัน
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมภาษาวิบัติ
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่
ปัญหาการใช้ภาษาไทย
เกิดจากความไม่ระมัดระวังในการใช้ภาษา
ไม่พิถีพิถันในการใช้ภาษา
เคร่งครัดในการใช้ภาษามากเกินไป
ภาษาไทยในยุค 4.0
เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
เปลี่ยนจากอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการ
การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารปัจจุบัน
มีคำบัญญัติเพื่อมีใช้ให้เพียงพอกับความเป็นจริงของชีวิตและวัฒนธรรมด้านการศึกษาต่างๆ
คำที่เกิดใหม่ในภาษาที่มากที่สุดในภาษาไทย เป็นภาษาต่างชาติ
การใช้คำซึ่งมีความหมายเดิมอย่างหนึ่งให้มีความหมายใหม่อีกอย่างหนึ่ง
ภาษาเฉพาะกลุ่ม เช่น ภาษาของวัยรุ่น
ประเภทของภาษา
วัจนภาษา
ภาษาถ้อยคำ
คำพูด ตัวอักษร เสียง
อวัจนภาษา
กิริยาท่าทาง เครื่องหมาย
ภาษากาย น้ำเสียง การยิ้มแย้ม การสบตา
คุณสมบัติและหน้าที่ของภาษาในสังคมไทย
คุณสมบัติและหน้าที่
ความเป็นเอกเทศ
ความมีประวัติอันยาวนาน
ความเป็นมาตรฐาน
ความมีชีวิต
ภาษาในสังคมไทยจำแนกตามเกณฑ์หน้าที่
ภาษาราชการ
ภาษาเมืองหลวง
ภาษาภูมิภาค
ภาษานานาชาติ
ภาษากลางในประเทศไทย
ภาษาเฉพาะกลุ่ม
ภาษาการศึกษา
ภาษาสอนเป็นวิชา
ภาษาวรรณกรรม
ภาษาศาสนา