Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (อาการและอาการแสดง…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
การแปลผล Apgar score
8-10
ดูดเสมหะ
เช็ดตัวให้แห้งให้ความอบอุ่น
6-7
ให้ดม 02 100%
กระตุ้นการสัมผัส
ดูดเสมหะ
เช็ดตัวให้แห้งให้ความอบอุ่น
0-3
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV)
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
ดูดเสมหะ
HR <60 bpm ให้ทำ Chest compression แบบ Two thumb
หลัง Chest compression ถ้า HR <60 bpm ให้ยากระตุ้นหัวใจ Epinephrine
เช็ดตัวให้แห้งให้ความอบอุ่น
ให้สารน้ำ 0. 9% NSS
4-5
เช็ดตัวให้แห้งให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
เริ่มช่วยการหายใจ
ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนคลอด
HT Preeclampsia Eclampsia
ครรภ์แฝดทารกในครรภ์บวมน้ำ
GA <36 weeks / GA> 41 weeks
ทารกตัวใหญ่ / เล็กพิการมารดาไม่ฝากครรภ์
Oligohadramnios / Polyhydramnios ก่อนคลอด
ระหว่างคลอด
เลือดออกมากผิดปกติการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
ท่าผิดปกติคลอดติดไหล่
รกลอกตัวผิดปกติการติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำมีขี้เทาปนสายสะดือย้อย
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
เครื่องดูดสุญญากาศ
การผ่าคลอด
คีม
มารดาดมยาสลบ GA หรือยาระงับปวด Mg
การให้ยา Epinephrine
ถ้าครั้งแรกทางท่อช่วยหายใจครั้งต่อไปให้ทางสายสะดือ
ความเข้มข้น 1: 10,000
ขนาดยาสายสะดือ 0. 1-0. 3 ml / kgหยดทาง ET 0. 3-1 ml / kg
การแบ่งระดับภาวะขาดออกซิเจน
ICD 10
Severe / White asphyxia
Apgar score 0-3
Mild and moderate / Blue asphyxia
Apgar score 4-7
หลักทั่วไป
ขั้นรุนแรง
ขั้นปานกลาง
ขั้นน้อย
ภาวะขาดออกซิเจน
ปฐมภูมิ
การพยาบาล
การสัมผัส
กระตุ้นโดยถูหลังดีดฝ่าเท้า
หายใจเร็วหยุดหายใจหัวใจเต้นลดลงสามารถกลับมาหายใจได้เองหลังกระตุ้น
ทุติยภูมิ
การพยาบาล
ช่วยการหายใจ
หายใจเฮือกหยุดหายใจความดันลดลงไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะกดการหายใจ
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
ภาวะหายใจเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
เขียว
ประกอบด้วย
Metabolic acidosis
HR ต่ำ
PaO2 ต่ำ
PaCO2 สูง CO2 สูง
RR ต่ำ
การหยุดกู้ชีพ
ไม่ควรทำการกู้ชีพ
น้ำหนักแรกเกิด <400g
GA <23 weeks
มีความพิการโอกาสรอดต่ำ
Trisomy 13
ไม่มีศีรษะ
คลำไม่พบชีพจรนาน 10 นาที
ความยินยอมของบิดามารดา
ผลของการขาดออกซิเจน
สมองและประสาท
หัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบิลิซึม
การเตรียมตัวกู้ชีพ
กล้ามเนื้อของทารกมีแรงหรือไม่?
การกระตุ้นที่เป็นอันตราย
การขยายหูรูดทวารหนัก
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การเขย่าตัวทารก
การตบบริเวณหลังหรือกัน
อายุครรภ์ครบกำหนดไหม?
ทารกร้องไห้หรือหายใจไหม?
ขั้นเบื้องต้น
จัดท่า Sniffing position
เปิดทางเดินหายใจ
ขี้เทาในน้ำคร่ำ
Not vigorous ใส่ ET ดูดในหลอดลมคอก่อน
Vigorous ลูกสูบยางแดงดูดจากปากและจมูก
หลังกู้ชีพให้วัดน้ำตาลในเลือดถ้าต่ำสมองจะอันตราย
การเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือทารก
บุคลากร
อุปกรณ์
การคาดคะเนล่วงหน้า
จำนวนทารก
ปัจจัยเสี่ยง
อายุครรภ์
สีน้ำคร่ำ