Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (การหยุดกู้ชีพ (…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด ( Antepartum )
-อายุครรภ์ < 36 wk. อายุครรภ์ > 41wk.
-ภาวะ Oligohdramnious
-ทารกตัวเล็ก
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด ( Intrapartum )
-การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
-การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ในครรภ์ผิดปกติ
-ภาวะน้ำคร่ำมีขี้เทาปน Meconium stained
อาการของทารก
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
-ความตึงตัวกล้ามเนื้อลดลง
-ค่าความดันโลหิตต่ำ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
การช่วยเหลือ
-เช็ดตัวให้แห้ง
-ดูดเสมหะ
-ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
-ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
-ถ้า HR< 60 ให้ทำ Chest compression
-ให้ยากระตุ้นหัวใจ ได้แก่ Epinephrine
แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
อาการแสดง
-ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
-ภาวะกดการหายใจ
-ความดันโลหิตต่ำ
-เขียว ( Cyanosis )
การให้ความอบอุ่นแก่ทารก
-วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น
-เช็ดตัวให้แห้ง
-เอาผ้าเปียกออก
การเปิดทางเดินหายใจ
ทารก Not vigorous : ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอดก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป
ทารก vigorous ดูดขี้เทาและสารคัดหลั่งจากปากและจมูกและช่วยเหลือตามขั้นตอน
การใส่ท่อช่วยหายใจ
-กรณีที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
-การช่วยหายใจด้วยแรงบวกไม่มีประสิทธิภาพ
การกดหน้าอก
-เทคนิคการใช้นิ้วหัวแม่มือ สามารถควบคุมความลึกของการกดหน้าอกได้ดีกว่า
-เทคนิคการใช้สองนิ้วมือเหมาะสำหรับผู้ช่วยกู้ชีพที่มีมือขนาดเล็ก
การให้ยาและสารน้ำทางหลอดเลือดดำของสะดือ
ใส่สายสวนในหลอดเลือดของสะดือ
เป็นทางให้สารน้ำและยา
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ
การหยุดกู้ชีพ
-คลำชีพจรไม่พบนาน 10 นาที
-ความยินยอมของบิดามารดา
-น้ำหนักแรกเกิด < 400 กรัม
-ความผิดปกติของโครโมโซม Trisomy 13
-ทารกที่ไม่มีศีรษะ ( Anencephaly )
นางสาวเบญจวรรณ ฉัตรรักษา
590105
เลขที่ 57