Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ภาวะขาด O2 ในช่วงปริกำเนิด
Pa O2 ↓ (Hypoxemia)
PaCO2 ↑CO2 ↑(Hypercapnia)
Metabolic acidosis
RR ↓
HR ↓
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด (Antepartum)
อายุครรภ์ < 36 wk. หรือ อายุครรภ์ >41wk.
ความดันโลหิตสูง
ภาวะครรภ์แฝด
ภาวะบวมน้ำทั้งตัวของทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ตัวใหญ่มากกว่าปกติ
ทารกตัวเล็ก
มารดาไม่เคยฝากครรภ์ No ANC
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายกับทารก
การตบบริเวณหลังหรือก้น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การขยายหูรูดทวารหนัก
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การเขย่าตัวทารก
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด (Intrapartum)
การใช้สูติศาสตร์หัตถการได้แก่ การใช้คีม เครื่องดูดสุญญากาศ
การผ่าคลอด
ท่าผิดปกติ หรือ คลอดติดไหล่
ภาวะเลือดออกมากผิดปกติระหว่างคลอด
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
รกลอกตัวผิดปกติ
การติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
ภาวะน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
(Birth asphyxia)
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นรุนแรง (Severe birth asphyxia)คือ ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score)
0-3คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นปานกลาง (Moderate birth asphyxia) คือทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 4 – 5 คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นน้อย (Mild birth asphyxia) คือ ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 6 - 7 คะแนน
อาการแสดงของทารกที่มีปัญหาขาดออกซิเจน
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone) ลดลง
ภาวะกดการหายใจ (Respiratory depression)
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหายใจเร็ว (Tachypnea)
เขียว (Cyanosis)
ข้อบ่งชี้ในการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที
ตัวเขียวขณะได้ก๊าซออกซิเจนเข้มข้น 100%
การใส่ท่อช่วยหายใจ
กรณีที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ หากทารก Not Vigorous
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกไม่มีประสิทธิภาพ หรือต้องช่วยหายใจเป็นเวลาหลายนาที
เมื่อต้องทำการกดหน้าอก เพื่อให้สัมพันธ์กับการช่วยหายใจ
เมื่อต้องการให้ยา Epinephrine ระหว่างรอการหาหลอดเลือดดำ
ข้อแนะนำเพื่อลดโอกาสการเกิดอันตรายต่อสมองทารกคลอดก่อนกำหนด
ดูแลทารกอย่างนุ่มนวล
ไม่วางขาของทารกให้สูงกว่าศีรษะ (Trendelenburg position)
หลีกเลี่ยงการให้แรงดันบวกที่สูงเกินไปขณะช่วยหายใจ
ใช้ pulse oximetry และ ค่า Blood gas เพื่อตรวจติดตามและปรับการช่วยหายใจ
ไม่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเร็วเกินไป
การหยุดกู้ชีพ
ในทารกแรกเกิดที่คลำชีพจรไม่พบนาน 10 นาทีก็ควรหยุดทำการกู้ชีพได้
ความยินยอมของบิดามารดา
ไม่ควรทำการกู้ชีพแก่ทารกแรกเกิดในราย
ทารกแรกเกิดในกรณีที่อายุครรภ์<23สัปดาห์
น้ำหนักแรกเกิด<400กรัม
มีความพิการแต่กำเนิดที่ทำให้มีโอกาสรอดชีวิตต่ำ
ความผิดปกติของโครโมโซม Trisomy 13
ทารกที่ไม่มีศีรษะ(Anencephaly)