Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด (Postpartum Complications) (การบวมคั่งของเลือด,…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด (Postpartum Complications)
มดลูกเข้าอู่ช้า
การพยาบาล
ประเมินระดับมดลูกวันละ 1 ครั้งเวลาเดียวกันวิธีเดียวกัน
ประเมินการหดรัดตัวใน 2 hr แรกหลังคลอดทุก 15 นาที
กระตุ้นให้ลูกดูดนมแม่ทุก 2-3 hr
ส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลาโดยให้ลุกเดินบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
อาการ
เกิดภาวะตกเลือด
น้ำคาวปลาออกนานมากสีแดงมีกลิ่นเหม็นมีไข้
ลักษณะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
สาเหตุ
CIS ทารกตัวโตติดเชื้อที่โพรงมดลูก
มีเศษรก / เยื่อหุ้มรกการคลอดยาวนาน
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก GA> 6 ครั้งขึ้นไป
บนเป Bladder full ไม่ให้ลูกดูดนมกระตุ้นการเคลื่อนไหวช้า
ผลกระทบ
ทางตรง
มดลูกกลับคืนปกติช้าใช้เวลารักษานาน
ทางอ้อม
ตกเลือดหลังคลอดติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
อาการ
ไข้ปวดท้องน้อยกดเจ็บ Parametrium
น้ำคาวปลาเหม็นไหลนานกว่าปกติ
พบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นแผลฝีเย็บปวดบวมแดงร้อน
การพยาบาล
วัด VIS การหดรัดตัวเช็ดตัวลดไข้ทำแผลต่างๆ
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำพักผ่อนและได้รับสารน้ำที่เพียงพอ
ปัจจัยเสี่ยง
CIS
ติดเชื้อในช่องคลอดอยู่ก่อนแล้ว
PV มากเกินไป
ซีด GDM อ้วน SLE
Prolong PROM
อารมณ์เศร้าหลังคลอด / ซึมเศร้าหลังคลอด
Blue ไม่เกิน 2 weeks
การรักษา
ให้กำลังใจให้ความรู้พักผ่อนเพียงพอติดตามอาการ
อาการ
นอนไม่หลับเศร้าร้องไห้อ่อนเพลียวิตกกังวลง่ายไม่มีสมาธิปวดศีรษะ
Depression นานเกิน 2 weeks
อาการ
ฉุนเฉียวง่ายวิตกกังวลนอนไม่หลับหรือนอนมาก
ไปคิดฆ่าตัวตายไม่สนใจลูกเฉยชาสูญเสียความจำรู้สึกผิดหวาดระแวงอาการ
การรักษา
ประเมินอาการและปรึกษาจิตแพทย์บำบัดด้วยยา
รับฟังปัญหาสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการป่วยแก่ครอบครัว
Sheehan syndrome
สาเหตุ
เสียเลือดมากจนเกิดภาวะ Shock
อาการ
สมดุลเหลือแร่ในร่างกายเปลี่ยนไม่ผลิตน้ำนมไม่มีประจำเดือน
ฮอร์โมนไทรอยด์ต่าอ่อนเพลียเหนื่อยล้าเบื่ออาหารขี้หนาว
การรักษา
ให้ฮอร์โมนที่ขาดป้องกันการตกเลือดในระยะ 24 hr แรกหลังคลอด
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน
การพยาบาล
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุดได้รับสารน้ำสารอาหารเพียงพอ
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจสอนการหายใจประเมินความปวด
ให้ยาละลายลิ่มเลือดให้ความรู้
อาการ
อุดตันที่ขา
เท้าและขาบวมปวด
ปวดเวลาเดินกดเจ็บคลำร้อน
คลำได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็งสีผิวเปลี่ยนสี
ปวดที่น่องเมื่อกระดกปลายเท้า
อุดตันที่ปอด
หายใจลำบากหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดแทง
ไอถี่ๆหรือไอเป็นเลือดหัวใจเต้นเร็ว Shock
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือด
มีบาดแผลที่ผนังด้านในหลอดเลือด
เลือดแข็งตัวง่าย
เต้านมอักเสบเป็นฝี
การพยาบาล
ให้ดื่มน้ำมากๆสวมยกทรงขนาดพอดี
หลังจากลูกดูดให้ใช้ความเย็นประคบ
ไม่งดูดูดข้างที่เป็นยกเว้นน้ำนมเป็นหนอง
ให้ยาปฏิชีวนะบรรเทาปวดเจาะหรือใส่หลอดสวน
อาการ
เต้านมข้างที่เป็นน้ำนมไม่ไหลหรือน้ำนมสีเขียวเหลืองไม่สบายตัว
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อนเต้านมสีแดงคล้ำปวดถ่วงมีไข้
สาเหตุ
มีน้ำนมเก่าคั่งค้างไม่ได้ระบายออก
การบวมคั่งของเลือด
ชนิด
สูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
ชนิดต่ากว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Infralevator)
สาเหตุ
การเย็บแผลฝีเย็บไม่ถึงกันแผลบีบคลึงมดลูกรุนแรง
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการผูกซ่อมแซมก่อนจะเย็บฝีเย็บ
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
ตัดแผลฝีเย็บไม่เหมาะสม
ประเมิน REEDA
A = Approximation การติดของแผล
ID = Discharge สารคัดหลั่งจากแผล
E = Ecchymosis อาการคั่งของเลือด
E = Edema อาการบวมของแผล
R = Redness อาการแดงของแผล
การพยาบาล
ขนาดไม่เกิน 5 cm ประคบน้ำแข็งลดปวดและบวม
ให้ยาปฏิชีวนะสารน้ำเลือดทดแทนให้สารอาหารที่เพียงพอ
ขนาดใหญ่แก้ไขในห้องผ่าตัด
วัด VIS ทุก 1 hr และทุก 4 hr เมื่อคงที่ประเมินความเจ็บปวด
อาการ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บและช่องคลอดอย่างรุนแรง
ตรวจพบก้อนบวมโป่งแข็งที่ฝีเย็บ