Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด1 (5.หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน…
การพยาบาลมารดาภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด1
1.การบวมคั่งของเลือด
ชนิดของHematoma
1.ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
เกิดขึ้นบริเวณเหนือชองคลอดขึ้นไป
2.ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Infralevator)
ส่วนใหญ่พบบริเวณนี้ มักเกิดขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก เช่น ผีเย็บ และปากช่องคลอด
สาเหตุ
1.การคลอดเร็วจนเส้นเลือดดำขาด
2.การตัดแผลฝีเย็บไม่เหมาะสม
3.เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการซ่อมแซมก่อนที่จะเย็บแผลฝีเย็บ
4.บีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคั่งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ใต้เย่อบุช่องท้อง
5.การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
อาการและอาการแสดง
1.ปวดหน่วงแผลฝีเย็บและช่องคลอดอย่างรุนแรง
2.ตรวจพบก้อนบวม
3.ปัสสาวะไม่ได้ เพราะบวมถึงท่อปัสสาวะ
4.ปวดถ่วงคล้ายกับจะอุจจาระตลอด
การรักษา
1.ประเมินแผลฝีเย็บทันทีเมื่อแรกรับตามแนวทาง REEDA
2.หามมีก้อนบวมขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 ซม.มีเลือดจำนวนไม่มากให้ประคบน้ำแข็งเพื่อลดอาการบวม
3.กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น แก้ไขโดยการผ่าตัด
4.ให้ได้รับสารน้ำและเลือดทดแทน
5.ให้ยาปฏิชีวนะ
6.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ซม. และ 4 ซม เมื่อคงที่
7.ประเมินระดับความเจ็บปวดและได้รับยาบรรเทาปวด
8.การทำแผล อบแผล หรือแช่ก้น
9.ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
2.มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinovolution of Uterus)
สาเหตุ
1.มีเศษรก
2.มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก
3.การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
4.การติดเชื้อในโพรงมดลูก
5.ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
6.ระยะเวลาคลอดยาวนาน
7.การตั้งครรภ์มากกว่า4ครั้งขึ้นไป
8.ภาวะมดลูกคว่ำหน้า
9.ไม่ให้ลูกดูดนม
10.มีปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ
11.การกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวภายหลังคลอดช้าเกินไป(Early ambutation)
อาการและอาการแสดง
1.มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2.น้ำความปลาออกนาน
3.หากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีอย่างรุนแรงทำให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน 2 ชม.แรกหลังคลอด ทุก15 นาที หลังจากนั้นทุก 2-4 ชม. จนครบระยะ24 ชม หลังคลอด รวมทั้งประเมินทุก 4 ชม หลังคลอด 2-3 วัน
2.ดูแลแก้ไขตามสาเหตุ
3.ประเมินระดับยอดมดลูกวันละ 1 ครั้ง ในเวลาเดียวกัน และวิธีวัดที่เหมือนเดิม
4.ดูแลเละกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม
5.กระตุ้นให้ลุกจากเตียงโยเร็ว ให้ลุกเดินบ่อยๆ
6.หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม รวมทั้งไม่ให้ท้องผูก
3.การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อโรคจากช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเข้าสู่บาดแผลตั้งแต่แผลฝีเย็บลุกลามเข้าไปอุ้งเชิงกรานหรือในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
1.ไข้
2.ปวดท้องน้อย
3.น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
4.น้ำคาวปลาไหลนานกว่าปกติ
5.ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น 15,000-30,000 เซลลล์/มล.
6.ปวด บวม แดง ร้อง หรือมีหนอง
การรักษา
1.เมื่อมีการติดเชื้อจะได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
2.การดูแลพักผ่อนและการได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
3.ประเมินสัญญาณชีพแลละบันทึกทุก 4 ชม.
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และระดับของมดลุก รวมทั้งปริมาณ สี และกลิ่น
5.การได้รับยาสาบรรเทาปวดและลดไข้เมื่อมีอาการ
6.แนะนำการปฏิบัติตัว
4.เต้านมอักเสบเป็นฝี (Breast abscess)
สาเหตุ
เกิดจากที่น้ำนมเก่าคั่งค้างในเต้านมโดยไม่ได้ระบายน้ำนมออกเท่าที่ควรหรือมีท่อน้ำนมอุดตัน
อาการและอาการแสดง
1.เจ็บที่เต้า คลำได้ก้อน
2.เต้านมมีสีแดงคล้ำ ปวดถ่วมฃงที่เต้านมกว่าปกติ
3.ไข้ 38-40 องศาเซลเซียส
4.น้ำนมไม่ไหล หรืออาจพบว่าน้ำนมมีสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
5.มาสบายตัว (malaise)
การรักษา
1.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
2.ยาบรรเทาอาการปวด
3.การเจาะหรือใส่สายสวนเพื่อระบายหนอง
4.ปกติจะไม่ดูดนมข้างที่เป็น นอลักษณะของน้ำนมจะเปลี่ยนสีรวมทั้งเมื่อตรวจพบเชื้อโรคในน้ำนม จึงงดการให้นมข้างที่เป็นในก่อนระยะแรก
5.ในกรณีที่ให้งดดูดเต้านมข้างที่เป็นก่อน ต้องดูแลช่วยเหลือมารดาในการทำให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง
6.ในกรณีที่น้ำนมไม่เปลี่ยน หรือตรวจไม่พบเชื้อโรคจะต้องกระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อน
7.แนะนำให้สวมเสื้อยกทรงที่มีขนาดพอดี
หลังลูกดูดนมหรือหลังบีบน้ำนมใช้ความเย็นประคบเพื่อลดอาการปวดและอาการบวม
8.วัดสัญญาณชีพทุก 4ชม.
9.เมื่อมีอาการปวดเต้านมที่เป็นฝีดีขึ้น ควรสอนให้มารดาให้นมลุก ท่า Football hold
5.หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน (Thrombophlebitis)
เป็นภาวะที่มีก้อนหรือลิ่มเลือดภายในหลอดเลือด ทำให้เส้นเลือดบางส่วนเกิดการอุดตัน ทำให้อวัยวะส่วนนั้นบวมเเดงอักเสบ
ประเภทหลอดเลือดดำอักเสบจากกการอุดตัน
1.การอุดตันของหลอดเลือดระดับตื้น(Superficial venous thrombosis)
2.กรรอุดตันของหลอดเลือดดำที่อยู่ลึก(Deep venous thrombosis)
3.การอุดตันของหลอดเลือดที่ปอด(pulmonary embolism)
สาเหตุ
1.การเปลี่ยนเเปลงการไหลเวียนของหลอดเลือดดำ
2.การมีบาดเเผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดำ
3.เลือดเเข็งตัวได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
1.กรณีการเกิดหลอดเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำที่ขา
1.1เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น
1.2ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
1.3อาจคลำได้หลอดเลือดเป็นเส้นเเข็ง
1.4มีอาการปวดที่น่องเมื่อกระดกปลายเท้า (positive Homan ‘s sign)
2.กรณีเกิดการอุดตันของหลอดเลือดทีปอด
2.1หายใจลำบาก เวลาหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดเเเทง
2.2ไอถี่ๆ หรือไอเป็นเลือด
2.3หัวใจเต้นเร็ว
2.4ภาวะซ็อก
การรักษา
1.ให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะหลอดเลือดดำอุกลั้น
3.การได้รับสารน้ำและสารอาหาร
4.แนะน้ำให้ยกขาสูงกว่าระดับหัวใจเพื่อเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือดดำ
5.กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อเท้า
6.สอนการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
7.ประเมินระดับความเจ็บปวด การบรรเทาอาการปวดด้วยยา
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
6.ภาวะเศร้าหลังคลอด(Postpartum blues) และภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum Depression)
ภาวะเศร้าหลังคลอด(Postpartum blues)
มักเกิดขึ้นในวันที่4-5วันหลังคลอด เเต่ไม่เกิน2สัปดาห์
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุเเน่ชัด เเต่อาจเกิดจากการเปลี่ยนเเปลงของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจน
อาการเเละอาการเเสดง
นอนไม่หลับ
รู้สึกเศร้าอยากร้องให้
อ่อนเพลีย
วิตกกังวล
ไม่ค่อยมีสมาธิ
ปวดศีรษะ
การบำบัดรักษา
1.ให้ความมั่นใจและให้กำลังใจมารดาหลังคลอด
2.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูและทารก
3.แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum Depression)
เกิดขึ้นภายใน4สัปดาห์หลังคลอด และมีอาการนานกว่า2สัปดาห์
สาเหตุ
1.สูญเสียคุณค่าในตัวเอง
2.มารดามีอายุน้อย
3.สูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง
4.มีประวัติซึมเศร้าก่อนต้องครรภ์
5.ขณะตั้งครรรภ์ไม่มีเเหล่งสนับสนุนทางด้านจิตใจ
6.มีประวัติเเท้ง
7.มีนายได้น้อย ระดับการศึกษาต่ำ
อาการและอาการแสดง
1.ฉุนเฉียวง่ายหรืออารมณ์โกรธ
2.ความวิตกกังวล อารมณ์เเกว่งอย่างไม่มีเหตุผล
3.ปัญหาทางการนอน
4.การเปลี่ยนเเปลงรสนิยมการรับประทานอาหาร
5.มีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
6.ขาดความสนใจในตัวลูก
7.มีความเฉื่อยชามีอาการหมดเเรง
8.สูญเสียความทรงจำ
9.มีความรู้สึกผิดหรือละอายใจ
10.มีความรู้สึกหายนะ
การรักษา
1.หากมีอาการประเมินอาการเบื้องต้นทันที
2.ปรึกษาจิตเเพทย์เพื่อให้การรักษาบำบัด
3.การบำบัดด้วยยา
4.สร้างความเข้าใจของภาวะผู้ป่วยเเก่สามี
5.ประเมินภาวะเเทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
6.ส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก
7.กลุ่มอาการซีเเฮน (Sheehan syndrome)
เป็นภาวะที่ต่อมใต้สมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
เสียเลือดระหว่างตั้งครรภ์ หรือตกเลือดหลังคลอดอย่างรุนแรง
อาการและอาการแสดง
1.การทำงานของต่อมหมวกไตผิดปกติ
2.การไม่ผลิตน้ำนม
3.ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
4.มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
5.มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เบื่ออาหารขี้หนาว
6.ระดับฮอร์โมนต่ำกว่าปกติ
การรักษา
1.ในกรณีที่ฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำต้องรักษาโดยการเสริมไทรอยด์ฮอร์โมน
2.เฝ้าระวังตกเลือดหลังคอลดอย่างใกล้ชิด