Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ภาวะขาดออกซิเจน
Pa O2 ↓ (Hypoxemia)
PaCO2 ↑CO2 ↑(Hypercapnia)
Metabolic acidosis
RR ↓
HR ↓
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
ทารกบวมนครรภ์
ครรภ์แฝด
Fetal Macrosomia
BP สูง
IUGR
GA < 35 wks./>41 wks.
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ท่าผิดปกติ
การเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
รกลอกตัวผิดปกติ
การติดเชื้อของรกและเยื่อหุ้มรก
สายสะดือย้อย
อาการทารก
ภาวการณ์หายใจไม่สม่ำเสมอ หรือ ไม่หายใจ (Apnea)
หรือหายใจเร็ว (Tachypnea)
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
หรือ หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำ
ค่าความดันโลหิตต่ำ
APGAR score ที่ 1 นาที ≤ 3 นาที
จะมีอัตราการเสียชีวิตและ HIE > ทารกที่มีคะแนนสูงกว่า
ผลของการขาดออกซิเจน
ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
พบ Murmur
Strok Volum , BP ↓
ผลต่อสมองและประสาท
เลือดออกในสมอง
สมองบวมน้ำ
HIE
ผลต่อระบบหายใจ
หายใจช้า
หยุดหายใจ
ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
ไม่ถ่ายเลย
ปัสสาวะน้อยลง
ปัสสาวะเป็นเลือด
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
อาเจียนเป็นเลือด
ลำไส้เน่า
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
แคลเซียมต่ำ
ตามหลักทั่วไป
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นรุนแรง
(Severe birth asphyxia)
คือ ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 0-3คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นปานกลาง
(Moderate birth asphyxia)
คือทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 4 – 5 คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นน้อย
(Mild birth asphyxia) คือ ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 6 - 7 คะแนน
แบ่งตามหลัก ICD 10 ได้ 2 ระบดับ
Severe birth asphyxia / White asphyxia
Asphyxia with 1 - minute apgar score 0-3
Mild and moderate birth asphyxia/Blue asphyxia
Asphyxia with 1-minute Apgar score 4-7
การให้การช่วยเหลือ
คะแนน Apgar 0-3
เช็ดตัวให้แห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุ่น ( Radiant warmer )
ดูดเสมหะ ( Suction )
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก PPV
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ ET-TUBE
หลังChest compressions (45-60 วินาที) ถ้า HR < 60 ให้ยากระตุ้นหัวใจ (Epinephrine/Adrenarine)
ให้สารน้ำ เมื่อทารกอยู่ในภาวะ Shock และไม่ตอบสนองต่อการช่วยชีวิตตามขั้นตอนที่ถูกต้องแล้ว
ถ้า HR < 60 ให้ทำ Chest compressions แบบ Two thumb ร่วมกับ Ventilation (ETT) ด้วย100 % O2 ในอัตราส่วน 3 : 1
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone) ลดลง
ภาวะกดการหายใจ (Respiratory depression)
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหายใจเร็ว (Tachypnea)
เขียว (Cyanosis)
การหยุดหายใจ
ขั้นปฐมภูมิ ช่วงแรกจะหายใจเร็ว หยุดหายใจ FHS ลดลง ทารกจะกลับมาหายใจได้เองจากการกระตุ้นคือการถูหลัง ดีดฝ่าเท้า
ขั้นทุติยภูมิ หายใจเป็นเฮือก หยุดหายใจ BP ลดลง ทารกไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
Vigorous
ความตึงตัวกล้ามเนื้อดี
FHS >100 bpm
การหายใจดี
ดูดขี้เทาจากปาก จมูก และช่วยเหลือตามขั้นตอน
Not Vigorous ดูดในหลอดลมคอก่อนแล้วค่อยช่วยขั้นต่อไป
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายต่อทารก
การตบบริเวณหลังหรือก้น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การขยายหูรูดทวารหนัก
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การเขย่าตัวทารก
ข้อแนะนำเพื่อลดอันตรายต่อสมอง
ดูแลทารกอย่างนุ่มนวล
ไม่วางขาของทารกให้สูงกว่าศีรษะ (Trendelenburg position)
หลีกเลี่ยงการให้แรงดันบวกที่สูงเกินไปขณะช่วยหายใจ
ใช้ pulse oximetry และ ค่า Blood gas เพื่อตรวจติดตามและปรับการช่วยหายใจ
ไม่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเร็วเกินไป
การหยุดกู้ชีพ
คลำชีพจรไม่เจอนานกว่า 10 นาที
ความยินยอมของผู้ปกครอง
จะไม่ทำการกู้ชีพในรายที่
ทารกแรกเกิดในกรณีที่อายุครรภ์<23สัปดาห์
น้ำหนักแรกเกิด<400กรัม
มีความพิการแต่กำเนิดที่ทำให้มีโอกาสรอดชีวิตต่ำ
ความผิดปกติของโครโมโซม Trisomy 13
ทารกที่ไม่มีศีรษะ(Anencephaly)
590482 นางสาว นริศรา เกิดทรัพย์ (266)