Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด
อายุครรภ์ น้อยกว่า 36 wk หรือ มากว่า 41 wk
ภาวะ oligahadramnios หรือ polyhydramnios
ภาวะบวมน้ำทั้งตัวของทารกในครรภ์
ทารกตัวใหญ่มากกว่าปกติ
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ท่าผิดปกติ
คลอดติดไหล่
ภาวะเลือกออกมากผิดปกติระหว่างคลอด
รกลอกตัวผิดปกติ
การเต้นของหัวใจทารกเต้นผิดปกติ
การติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
ภาวะน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
สายสะดื้อย้อย
อาการและอาการแสดง : :
หายใจไม่สม่ำเสมอ
ไม่หายใจ
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
หัวใจเต้นเร็ว
ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำ
ค่าความดันโลหิตต่ำ
APGER score ที่ 1นาที น้อยกว่าหรือเท่า 3 นาที จะมีอัตราการเสียชีวิตและ HIE
ผลต่อการขาดออกซิเจนแรกเกิดต่ออวัยวะต่างๆ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
stroke volume ต่ำ
BP ต่ำ
Murmur
สมองและประสาท
เลือดออกในสมอง
HIE
ระบบหายใจ
หายใจช้า
หยุดหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อยลง
ไม่ถ่าย
ระบบทางเดินอาหาร
น้ำตาลในเลือดต่ำ
Ca ในเลือดต่ำ
เมตาบอลิซึม
ระดับ
ขั้นรุนแรง
APGER score 0-3
white asphyxia
ขั้นปานกลาง
APGER score 4-5
Blue asphyxia
ขั้นน้อย
ฺBlue asphyxia
APGER score 6-7
การแปลผลและการให้การช่วยเหลือ
APGER score 4-5 ปานกลาง
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
เริ่มช่วยการหายใจด้วย ambubag with ออกซิเจน 100%
APGER score 8-10 ไม่มีภาวะ asphyxia
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
APGER score 6-7 น้อย
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
กระตุ้นด้วยการสัมผัส
ให้ดมออกซิเจน 100%
APGER score 0-3 รุนแรง
เช็ดตัวให้เเห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
ช่วยหายใจด้วย PPv
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
ถ้า HR น้อยกว่า 60 ให้ Chest compression แบบ two thumd ร่วมกับ ETTด้วย 100% ออกซิเจน ในอัตราส่วน 3:1
หลัง Chest compression ถ้า HR น้อยกว่า 60 ให้กระตุ้นหัวใจ ได้แก่ เอพิเนฟรีน
ให้สารน้ำ
แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
อาการและอาการแสดงทารกที่ปัญหาขากออกซิเจน
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะกดการหายใจ
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหายใจเร็ว
เขียว
ภาวะการขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์และขณะคลอด
ขั้นปฐมภูมิ
หายใจเร้ว
หยุดหายใจ
อัตราการเต้นของหัวใจเริ่มลดลง
ความดันโลหิตยังปกติ
กลับมาหายใจได้เอง
ขั้นทุติยภูมิ
เริ่มหายใจเฮือก
หยุดหายใจ
ความดันโลหิตเริ่มลดลง
ไม่ตอบสนองกระตุ้นด้วยการสัมผัส
การช่วยเหลือ
เตรียมตัวสำหรับการช่วยกู้ชีพ
ประเมินว่าอายุครรภ์ครบไหม
ทารกร้องไห้หรือหายใจไหม
กล้ามเนื้อทารกมีแรงไหม
ทำให้อุณหภูมิกายอบอุ่น
นอนในท่า sniffing position
เช็ดตัวให้เเห้ง
กระตุ้นการหายใจ
ข้อบ่งชี้ในการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100ครั้ง/นาที
ตัวเขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
ข้อบ่งชี้การใส่ท่อช่วยหายใจ
กรณีมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกไม่มีประสิทธิภาพ
เมื่อต้องการให้ยา epinephrine ระหว่างรอการหาหลอดเลือด
จำกัดระยะเวลาใส่ ไม่เกิน 20-30วินาที
ควรใช้ขนาดที่เหมาะสม
ข้อบ่งชี้ในการกดหน้าอก
อัตราเร้ซในกดหน้าอกน้อยกว่า 60ครั้ง/นาที
ควรใช้ออกซิเจน100%
หัวใจไปชนกับกระดูกไหปลาร้า
ต้องมีบุคลากร 2 คน คนนึ่งกดหน้าอกอีกคนให้การหายใจ
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา epinephrine
ทารกที่ยังมีอัตราการเต้นของหัวใจต่ำ 60 ครั้ง/นาที
ไม่ควรให้ยาก่อนช่วยหายใจด้วย แรงดันบวก
ใส่สายสวนในหลอดเลือดของสะดือเป็นทางให้สารน้ำและยา
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ
การบริหารยาepinephrine
ความเข้มข้นที่แนะนำ=1:10000
ขนาดยาที่แนะนำ = 0.1-0.3มล./กก.
อัตราการให้ ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
การดูแลหลังกู้ชีพ
ติดตามสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง
วัดค่าน้ำตาลในเลือด