Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (การแปลผลคะเเนน Apgar score…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด มี 3 ขั้น ขั้นรุนแรง ขั้นปานกลาง ขั้นเกิดขึ้นน้อย
การแปลผลคะเเนน Apgar score เเละให้การช่วยเหลือ
คะเเนน 8-10 เช็ดตัวให้เเห้ง ดูดเสมหะ
คะเเนน 6-7 เช็ดตัวให้แห้ง ดูดเสมหะ กระตุ้นโดยการสัมผัส ให้ดมออกซิเจน 100 เปอร์เซน
คะเเนน 4-5 เช็ดตัวให้แห้ง ดูดเสมหะ เริ่มช่วยการหายใจโดยการใช้ถุงช่วยหายใจเเละหน้ากากด้วยออกซิเจน 100 เปอร์เซน
คะเเนน 0-3 เช็ดตัวให้แห้งอย่างรวดเร็ว ดูดเสมหะ ช่วยการหายใจด้วยแรงดันบวก ถ้าไม่ดีขึ้นใส่ท่อหลอดลมคอ ถ้า HR ต่ำกว่า 60 ให้ทำ Chest compressions หลัง Chest compressions ถ้าHR ต่ำกว่า 60 ให้ยาอิพิเนฟรีน เเละให้สารน้ำ
เเนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
การเตรียมตัวสำหรับการช่วยกู้ชีพ ประเมินเมื่อทารกคลอดว่าต้องการความช่วยชีวิตหรือไม่
อายุครรภ์ครบกำหนดไหม
ทารกร้อวให้หรือหายใจไหม
กล้ามเนื้อทารกมีเเรงหรือไม่
ขั้นตอนเบื้องต้น ทำให้ร่างกายของทารกอบอุ่น นอนในท่า Sniffing position ดูดเสมหะ เช็ดตัวทารกให้แห้ง กระตุ้นให้หายใจ
การให้ความอบอุ่นแก่ทารก วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น เช็ดตัวให้แห้ง เอาผ้าเปียกออก
วิธีการทำให้ทางเดินหายใจโล่ง ทารกควรนอนหงาย หรือ นอนตะเเคงโดยให้คอแหงนเล็กน้อย
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายแก่ทารก การตบบริเวณหลังหรือก้น การกดเค้นบริเวณซี่โครง การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การช่วยหายใจมีประสิทธิภาพ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น ทารกมีผิวสีชมพู ทารกหายใจได้เอง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีขึ้น
อัตราการช่วยหายใจ 40-60 ครั้งต่อนาที
ข้อเเนะนำเพื่อลดโอกาสการเกิดอันตรายต่อสมองทารกคลอดก่อนกำหนด ดูแลทารกอย่างนุ่มนวล
การดูเเลหลังกู้ชีพ เฝ้าติดตามสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง วัดระดับน้ำตาลในเลือด