Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (การแปลผล Apgar score…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนคลอด
-Oligohadramnios / Polyhydramnios
-GA < 36 weeks / GA > 41 weeks
-HT Preeclampsia Eclampsia
-ครรภแฝด ทารกในครรภ์บวมน้ำ
-ทารกตัวใหญ่/เล็ก พิการ มารดาไม่ฝากครรภ์
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
-คีม
-เครื่องดูดสุญญากาศ
-การผ่าคลอด
ระหว่างคลอด
-ท่าผิดปกติ คลอดติดไหล่
-เลือดออกมากผิดปกติ การเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
-รกลอกตัวผิดปกติ การติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
-น้ำคร่ำมีขี้เทาปน สายสะดือย้อย
-มารดาดมยาสลบ GA หรือ ยาระงับปวด Mg
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด (Birth asphyxia) แบ่งตามหลักทั่วไปเป็น 3 ระดับ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดขั้นรุนแรง (Severe birth asphyxia) คือ ทารกแรกเกดิมีคะแนน APGAR (Apgar score) 0-3คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกดิข้ันปานกลาง (Moderate birth asphyxia) คือทารกแรกเกดิมีคะแนน APGAR (Apgar score) 4 –5 คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกดิข้ันน้อย (Mild birth asphyxia) คือ ทารกแรกเกดิมีคะแนน APGAR (Apgar score) 6 -7คะแนน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด (Birth asphyxia) แบ่งตามหลัก ICD 10 เป็น 2 ระดับ
Severe birth asphyxia
Mild and moderate birth asphyxia
การแปลผล Apgar score และให้การช่วยเหลือ
คะแนน 8-10 (ไม่มีภาวะ Asphyxia)
1.เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
2.ดูดเสมหะ
คะแนน 6 -7 (Mild/ Blue asphyxia)
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
กระตุ้นโดยการสัมผัส
ให้ดมออกซิเจน 100%
คะแนน 4-5 (Moderate/ Blue asphyxia)
1.เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
2.ดูดเสมหะ
3.เริ่มช่วยการหายใจ
คะแนน 0 -3 ( Severe / White asphyxia)
(1)
เช็ดตัวให้แห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุ่น ( Radiant warmer )
(2)
ดูดเสมหะ ( Suction )
(3)
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV)
(4)
ถ้าไม่ดีขนึ้ให้ใส่ท่อหลอดลมคอ (Endrotracheal tube / ET tube)
(5)
ถ้า HR < 60 ให้ทำ Chest compressions แบบ Two thumb ร่วมกับVentilation (ETT) ด้วย 100 % O2 ในอตัราส่วน 3:1
(6)
หลัง Chest compression
(45 –60 วินาที) ถ้า HR < 60 ให้ยากระตุ้นหัวใจ ได้แก่ เอพิเนฟรีน
(7)
ให้สารน้ำ(Volume expander) ได้แก่ Normal saline (0.9% NaCl)
แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ (primary apnea)
•เมื่อขาดออกซิเจน ในช่วงแรกทารกจะหายใจเร็วตามด้วยการ หยุดหายใจ อตัราการเต้นของหัวใจจะเริ่มลดลง แต่ความดัน โลหิตยงัคงปกติซึ่งทารกจะสามารถกลบัมาหายใจเองได้ใหม่ หลังจากได้รับการกระตุ้นหายใจ
การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ (Secondary apnea)
•หากการขาดออกซิเจนยังดา เนินต่อไป ทารกจะเริ่มหายใจเป็นเฮือก (gasp) และตามมาด้วยการหยุดหายใจความ ดันโลหิตจะเริ่มลดลง
•ในการหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ ทารกจะ ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นหายใจ ด้วยการสัมผสัในกรณีนีท้ารกต้องการ การช่วยหายใจ
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (Positive-Pressure Ventilation: PPV) จะมีผลทำให้อัตราการเต้นของหัวใจดีขึ้นอย่างรวดเร็ว
การให้ความอบอุ่นแก่ทารก
ป้องกันการสูญเสียความร้อนโดย
-วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น
-เช็ดตัวให้แห้ง
วิธีการทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
•ทารกควรนอนหงายหรือตะแคง โดยให้คอแหงนเล็กน้อย
การกระต้นุที่อาจเป็นอันตรายกับทารก
•การตบบริเวณหลังหรือก้น
•การกดเค้นบริเวณซี่โครง •การยกหน้าขาขนึ้มาบริเวณหน้าท้อง
•การขยายหูรูดทวารหนัก •การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น •การเขย่าตัวทาร
การประเมินอตัราการเต้นของหัวใจ
•ฟังเสียงหัวใจที่หน้าอก (Pre – cordial Ausciculation)
•คลา ชีพจรที่สายสะดือ (Umbilical pulse)
•ติดคล่ืนไฟฟ้าหัวใจ ( 3leads ECG monitoring)
ข้อบ่งชี้ในการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
•ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก •อัตราการเต้นของหัวใจนอ้ยกวา่ 100 ครั้ง/ นาที
•ตัวเขียวขณะได้ก๊าซออกซิเจนเข้มข้น 100%
การใส่ท่อช่วยหายใจ: ข้อบ่งชี้
1.กรณทีมี่ีขเี้ทาปนในน้ำคร่ำ หากทารก Not Vigorous
2.การช่วยหายใจด้วยแรงดนับวกไม่มีประสิทธิภาพ หรือต้องช่วย หายใจเป็นเวลาหลายนาที
3.เมื่อต้องทำการกดหน้าอก เพื่อให้สัมพันธ์กับการช่วยหายใจ
4.เมื่อต้องการให้ยา Epinephrineระหว่างรอการหาหลอดเลือดด
การใส่ท่อช่วยหายใจ
• การใส ่ETT ควรจ ากดัระยะเวลาในการใส่ไม่เกิน 20-30 วินาที
• ในระหวา่งใส ่ETT ถ้า HR < 100 ครัง้/นาที ต้องหยดุทำ PPV กอ่น
เมื่ออัตราการเต้นของหัวใจ
น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ทั้งๆ ที่ทารกได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก อย่าง เพียงพอแลัวเป็นเวลา 30 วินาที
*การบริหารยา Epinephrine
ขนาดยา สายสะดือ 0.1-0.3 ml/kg
หยดทาง ET 0.3-1 ml/kg
ถ้าครั้งแรกทางทอชวยหายใจ
ครั้งตอไปให้ซ้ำทางสายสะดือ
ความเข้มข้น 1 : 10,000
เทคนิคในการกดหน้าอก
• เทคนิคการใช้นิ้วหัวแม่มือ (Thumb Technique)
• เมื่อยล้าน้อยกว่า• สามารถควบคมุความลึกของการกดหน้าอกได้ดีกว่า •
เทคนิคการใช้สองนิ้วมือ
(2-Finger Technique)
• เหมาะสำหรับผู้ช่วยกู้ชีพที่มีมือขนาดเล็ก • ใช้พื้นที่ไม่มาก เปิดทางเข้าสู่สะดือได้ดีกว่าเมื่อต้องการให้ยา
อาจารย์มัณฑนา
นางสาว ณัฏฐนันท์ เดชโชตินิโรจน์
รหัสประจำ 570367