Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 2 (เต้านมอักเสบเป็นฝี…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 2
กลุ่มอาการชีแฮน (Sheehan syndrome)
การรักษาพยาบาลกลุ่มอาการชีแฮน
การป้องกันระยะ 24ชม.หลังคลอดต้องเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ในกรณีที่ไทรอยด์ฮอร์โมนต่าต้องรักษาโดยการเสริมไทรอยด์ฮอร์โมน เช่น eltroxin, hydrocortisone
การให้ฮอร์โมนเพศหญิงชดเชยหากฮอร์โมนเพศหญิงต่า หรืออาจต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้น
อาการ
การทางานต่อมหมวกไตผิดปกติ
การไม่ผลิตน้านม
ไม่มีประจาเดือนหลังคลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่า
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เบื่ออาหาร ขี้หนาว มักตรวจพบว่าผู้ป่วยมีอาการซูบผอม ซีด ความดันต่า ผิวหนังแห้งหยาบ
เต้านมอักเสบเป็นฝี (Breast abscess )
อาการ
เจ็บที่เต้าคลาได้ก้อน (lump) ที่เกิดจากน้านมขังอยู่ในกลีบถุงสร้างน้านมและกดเจ็บ (tenderness) 2. เต้านมมีสีแดงคล้า ปวดถ่วงที่เต้านมกว่าปกติ
ไข้ 38-40องศาเซลเซียส
เต้านมข้างที่เป็นฝีน้านมไม่ไหล หรืออาจพบว่าน้านมมีสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
ไม่สบายตัว (malaise) คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
ดูแลได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา ตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังสังเกตผลข้างเคียงของยา
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
การเจาะหรือใส่หลอดสวน (catheter) เพื่อระบายหนอง
ปกติจะไม่งดดูดนมข้างที่เป็น นอกจากลักษณะของน้ำนมจะเปลี่ยนสี
ในกรณีที่ให้งดดูดเต้านมข้างที่เป็นก่อน ต้องดูแลช่วยเหลือมารดาในการทาให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง
ในกรณีที่สีน้านมไม่เปลี่ยน หรือตรวจไม่พบเชื้อโรคในน้านม จะต้องกระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อน
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดดื่มน้ามาก ๆ
แนะนาให้สวมเสื้อยกทรงที่มีขนาดพอดี
หลังจากลูกดูด หรือหลังบีบน้านมใช้ความเย็นประคบ เพื่อลดอาการปวด และลดบวม
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง
เมื่ออาการของเต้านมที่เป็นฝีดีขึ้น ควรสอนให้มารดาให้นมลูกท่า Football hold เพื่อลดการเสียดสีถูกแผล
แนะนาการทาความสะอาดของร่างกาย มือ เล็บ ผ้าซับน้านม และเสื้อผ้า อาบน้าอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ล้างมืออย่างถูกวิธีทุกครั้ง ก่อนและหลังการบีบน้านม และก่อนจับทารก
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีน้านมเก่าคั่งค้างในเต้านม โดยไม่ได้ระบายน้านมออกเท่าที่ควร หรือมีท่อน้านมอุดตัน และเมื่อมีการติดเชื้อแบคทีเรียผ่านทางแผลหรือรอยแตกที่หัวนม จะทาให้เกิดการอักเสบของเต้านมตามมา
หลอดเลือดดาอักเสบจากการอุดตัน
อาการ
กรณีการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดาที่ขา
เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลาร้อน
อาจคลาได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็ง เนื่องจากมีการแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือดดา
มีการเปลี่ยนสีที่ผิวหนัง
2.กรณีเกิดการอุดตันของหลอดเลือดที่ปอด
หายใจลาบาก เวลาหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดแทง
ไอถี่ๆ หรือไอเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ภาวะช็อก
การรักษาพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะหลอดเลือดดาอุดกั้น
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด
การรักษาทางยาโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดา
การได้รับสารน้า สารอาหาร รวมทั้งส่งเสริมให้ดื่มน้าในปริมาณที่เพียงพอ
แนะนาให้ยกขาสูงกว่าหัวใจเพื่อเพิ่มการไหล กลับของเลือดดา (venous return)
กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อท้า (foot & ankle exercise)
สอนการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของเลือดดา
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดา
เลือดแข็งตัวได้ง่าย (Hypercoagulability)
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues) และภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum Depression
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum Depression)
อาการ
ฉุนเฉียวง่ายหรืออารมณ์โกรธ 2. ความวิตกกังวล อารมณ์แกว่งอย่างไม่มีเหตุผล 3. ปัญหาทางการนอนเช่น นอนไม่หลับหรือนอนมากเกินไป 4. การเปลี่ยนรสนิยมในการรับประทานอาหาร 5. มีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
การักษา
หากมีอาการควรประเมินอาการเบื้องต้นทันทีทุกราย
ปรึกษาจิตแพทย์เพื่อ ให้การวินิจฉัยและบาบัดรักษา ร่วมกับทั้งการให้ยา และการให้จิตบาบัด
การพยาบาลในระยะหลังคลอดครอบคลุมการป้องกันมารดาไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
การบาบัดด้วยยา
สร้างความเข้าใจของภาวะป่วยแก่สามี ญาติและครอบครัวเพื่อ
การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดา
การส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก
ประเมินทักษะและความสามารถในการดูแลบุตร
การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารก
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
อาการของภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
อาการที่พบได้คือ นอนไม่หลับ , รู้สึกเศร้า อยากร้องไห้ ,อ่อนเพลีย ,วิตกกังวลง่าย, ไม่ค่อยมีสมาธิ, ปวดศีรษะ
การบำบัดรักษา Postpartum blue
ให้ความมั่นใจและกาลังใจกับมารดาหลังคลอด
ให้ข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก หรือให้ความช่วยเหลือในการดูแลทารก
แนะนาให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ
แนะนาการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ควรติดตามอาการอย่างต่อเนื่องเพื่อแยกออกจากอาการของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด