Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonal Ressucitation (แนวทางการฟื้นคืนชีพ (อาการแสดง,…
Birth Asphyxia & Neonal Ressucitation
แปลผล Apgar scorecและการช่วยเหลือ :fountain_pen:
4-5
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
เริ่มช่วยการหายใจ โดยการใช้ถุงช่วยหายใจ และหน้ากากด้วยออกซิเจน 100%
0-3
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV)
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
ถ้า HR < 60 ให้ทำ Chest compressions
หลัง Chest compression ( 45 – 60 วินาที) ถ้า HR < 60 ให้ยากระตุ้นหัวใจ ได้แก่ เอพิเนฟรีน
ให้สารน้ำ
6-7
กระตุ้นโดยการสัมผัส
ให้ดมออกซิเจน 100%
ดูดเสมหะ
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
8-10
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
ภาวะขาด O2
Metabolic acidosis
RR ↓
PaCO2 ↑CO2 ↑(Hypercapnia)
HR ↓
Pa O2 ↓ (Hypoxemia)
แนวทางการฟื้นคืนชีพ
ภาวะขาดO2
ทารกจะเริ่มหายใจเป็นเฮือก ทารกจะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นหายใจด้วยการสัมผัส ต้องการการช่วยหายใจ
ทารกจะสามารถกลับมาหายใจเองได้ใหม่หลังจากได้รับการกระตุ้นหายใจ การถูหลัง การดีดฝ่ามือ
อาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone) ลดลง
ภาวะกดการหายใจ (Respiratory depression)
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหายใจเร็ว (Tachypnea)
เขียว (Cyanosis)
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ทำให้อุณหภูมิกายของทารกอบอุ่น
เช็ดตัวให้แห้ง
เอาผ้าเปียกออก
วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น (Radiant warmer) หรือ ถุงพลาสติกบรรจุอาหาร ( Polyethylene bags)
นอนในท่า ‘ Sniffing position’
ดูดเสมหะให้มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
Not vigorous: ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอด ก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป
Vigorous: ดูดขี้เทาและสารคัดหลั่งจากปากและจมูก และช่วยเหลือตามขั้นตอน
กระตุ้นให้หายใจ
การตบบริเวณหลังหรือก้น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การเขย่าตัวทารก
การประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ
ฟังเสียงหัวใจที่หน้าอก
คลำชีพจรที่สายสะดือ
ติดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ( 3-leads)
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
ข้อบ่งชี้
ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที
ตัวเขียวขณะได้ก๊าซออกซิเจนเข้มข้น 100%
อัตราการช่วยหายใจ 40 – 60 ครั้ง / นาที
การกดหน้าอก
เทคนิคการใช้นิ้วหัวแม่มือ (Thumb Technique)
เทคนิคการใช้สองนิ้วมือ (2-Finger Technique)
การให้ยา epinephrine
ไม่ควรให้ยา epinephrine ก่อนช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV) อย่างมีประสิทธิภาพ
ขนาดของยาที่แนะนำ = 0.1-0.3 มล./กก. ของยา epinephrine 1:10,000 (ให้ 0.3-1 มล/กก ถ้าให้ทางท่อช่วยหายใจ)
จะให้ทางสายสะดือถ้าหาเส้นไม่ได้ให้หยดในET tubeและห้ามหยดซ้ำที่ET tube
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด :lock:
ความดันโลหิตสูง รวมถึงภาวะ preeclampsia , eclampsia
ครรภ์แฝด
ทารกตัวเล็ก
ภาวะน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
สายสะดือย้อย
มารดาได้รับยาMaSO4ก่อนคลอด
:<3:นางสาวพิมวรรณ อุตสม รหัส590425