Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resuscitation (การแปลผล (0-3 (เช็ดตัวให้แห้ง…
Birth Asphyxia & Neonatal Resuscitation
แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์และขณะคลอด
การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ(primary apnea)
ทารกจะหายใจเร็ว ตามด้วยการหยุด หายใจอัตราการเต้นของหัว ใจจะเริ่มลดลงทารกจะสามารถกลับ มาหายใจเองได้ใหม่ หลังจากได้รับ การกระตุ้น หายใจ
การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ
(Secondary apnea)
ทารกจะไม่ตอบสนองต่อ การกระตุ้น หายใจด้วย การสัมผัส ในกรณีนี้ทารกต้องการการช่วยหายใจ
ทารกจะเริ่มหายใจเป็นเฮือก(gasp) และตามมาด้วยการหยุดหายใจ
ความดันโลหิต จะเริ่มลดลง
อาการแสดงของทารกที่มีปัญหาขาดออกซิเจน
ภาวะหายใจเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
ถาวะกดการหายใจ
เขียว
ภาวะการขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
Mild birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนนAPGAR 6-7คะแนน
Moderate birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนนAPGAR 4-5คะแนน
Severe birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนนAPGAR 0-3คะแนน
การดูแลหลังการกู็ชีพ
หลังการกู้ชีพควรวัดระดับน้ำตาลในเลือด
การหยุดกู้ชีพ
ความยินยอมของบิดามารดา
ในทารกแรกเกิดที่คลำชีพจรไม่พบนาน10นาทีก็ควรหยุดทำการกู้ชีพ
ไม่ควรทำการกู้ชีพแก่ทารกแรกเกิดในราย
ทารกแรกเกิดในกรณีอายุครรภ์น้อยกว่า23สัปดาห์
น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า4ขีด
ความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกไม่มีศีรษะ
การแปลผล
4-5
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
เริ่มช่วยการหายใจ
6-7
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
กระการสัมผัส
ให้ดมออกซิเจน
8-10
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
0-3
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก(PPV)
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
HR < 60 bpm ให้ทำChest compression แบบ Two thumh
หลังChest compression ถ้าHR < 60 bpm ให้ยากระตุ้นหัวใจ
Epinephrine
ให้สารน้ำ0.9%NSS
การช่วยเหลือทารกในช่วงการหยุดหายใจ
ขั้นทุติยภูมิ
ขั้นตอนเบื้องต้น
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่น
ดูดเสมหะ
กระตุ้นการหายใจ
จัดท่าSniffing position
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ทารก Not vigorous: ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันที หลังคลอด
ก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป
ทารก Vigorous: ดูดขี้เทาและสารคัดหลังจากปากและจมูก
และช่วยเหลือตามขั้นตอน
การกระตุ้นที่อาจ เป็นอันตรายต่อทารก
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การตบบริเวณหลังหรือก้น
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การขยายหูรูดทวารหนัก
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การเขย่าตัวทารก
นางสาวพิดย์รัตน์ จันทร์อุ่น 590181