Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1 และระยะ 2 ( Postpastum…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1 และระยะ 2
( Postpastum Complication )
การบวมคั่งของเลือด
( Hematoma )
ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
( supralevator ) เกิดขึ้นบริเวณเหนือช่องคลอดขึ้นไป การรักษาเป็นการผ่าตัดทางหน้าท้องเผื่อผูกเส้นเลือด
-ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ( Infralevator ) ส่วนใหญ่จะพบบริเวณนี้ มักเกิดขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก ( Vulva )
สาเหตุ
คลอดเองโดยไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ
( Episiotomy )
การัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รบการผูกซ่อมแซม
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
อาการและอาการแสดง
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้
ถ้าตำแหน่งที่เลือดอยู่ต่ำกว่า Urongenital diaphragm
การรักษา
พยาบาลหลังคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันที
ตามแนว REEDA
หากก้อนมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 ซม.ให้ประคบเย็น
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพิ่มขนาดมากขึ้นต้องแก้ไขในห้องผ่าตัด
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์โดยเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังห้ามเช็ดย้อน
ควรเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2-3 ชั่วโมง
มดลูกเข้าอู่ช้า ( Subinvolution of Uterus )
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดใหญ่
และอ่อนนุ่ม
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงตามปกติ
มีอาการปวดมดลูกผิดปกติเกิน 72 ชม.
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ
การรักษาพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัว
ของมดลูกใน 2 ชม.
ดูแลเพื่อขูดมดลูก
และการได้รับสารน้ำ
ให้ความรู้มารดา
ถึงอาการผิดปกติ
ดูแลกระตุ้นให้บุตร
ดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม/.
การติดเชื้อหลังคลอด
( Pureperal infection )
ปัจจัยเสี่ยง
1.การผ่าตัดคลอดบุตร
2.มีภาวะถุงน้ำคร่ำเเตกก่อนการเจ็บครรภ์อยู่นาน
3.การตรวจภายใน (PV) ช่วงดำเนินการคลอดมากเกินไป
4.ถาวะซีด (Anemia )
5.อ้วน Obesity
อาการ
ไข้ ( Fever ) อุณหภูมิ 38-39 องศาเซลเซียส
ปวดท้องน้อยย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ( Foul lochia )
การรักษา
1.เมื่อมีการติดเชื้อจะได้รับการรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
2.พักผ่อนเเละได้รับสารน้ำเเละอาหารที่เพียงพอ
3.การประเมินสัญญาณชีพเเละบันทึกทุก 4 ชั่วโมง
4.ประเมินการหดรัดตัวเเละระดับของมดลูกรวมทั้งลักษณะ ปริมาณ สี เเละ กลิ่นน้ำคาวปลา
เต้านมอักเสบเป็นฝี ( Breast abscess )
ปัจจัยเสี่ยง
ลูกดูดน้ำนมออกไม่เกลี้ยงเต้า
ลูกดูดนมจำนวนครั้งลดลง
เเม่ให้ลูกดูดนมไม้ถูกวิธีทำให้การระบายน้ำนมไม่ดีเท่าควร
ท่อน้ำนมอุดตัน
อาการ
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อน ( lump ) ที่
เกิดจากน้ำนมขังอยู่ในกลีบถุงสร้างน้ำนมเเละกดเจ็บ ( tenderness )
เต้านมมีสีเเดงคล้ำ ปวดถ่วงที่เต้านมกว่าปกติ
ไข้ 38-40 องศาเซลเซียส
เต้านมข้างที่เป็นฝีน้ำนมไม่ไหลหรืออาจพบว่าน้ำนมสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
ไม่สบายตัว ( malaise ) คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
1.ดูเเลได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
2.ยาบรรเทาความเจ็บปวด
3.การเจาะหรือใส่หลอดสวน ( catheter ) เพื่อระบายหนอง
4.งดดูดเต้านมข้างที่เป็นก่อน
ต้องดูเเลช่วยเหลือมารดาในการทำให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง
5.ในกรณีที่สีน้ำนมไม่เปลี่ยน หรือตรวจไม่พบเชื้อโรคในน้ำนมจะต้องกระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อน
6.เเนะนำให้สวมเสื้อยกทรงที่มีขนาดพอดี สายบ่ากว้าง
7.หลังจากลูกดูดหรือหลังบีบน้ำนมให้ความเย็นประคบ
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน
( Thrombophlebitis )
อาการ
เท้าเเละขาบวมใหญ่ขึ้น
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
หายใจลำบาก เวลาหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดเเทง
ไอถี่ๆหรือไอเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ช็อก
การรักษา
การรักษาทางยาโดยให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำเช่น Heparin
ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ภาวะเลือดดำอุดกั้น
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด
( carly ambulation )
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
( Postpartum blues )
อาการ
นอนไม่หลับ
รู้สึกเศร้า
อยากร้องไห้
อ่อนเพลีย
วิตกกังวลง่าย
ไม่ค่อยมีสมาธิ
ปวดศีรษะ
การบำบัดรักษา
ให้ความมั่นใจเเละกำลังใจกับมารดาหลังคลอดว่าอาการนี้เป็นภาวะปกติ
ให้ข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับการดูเเลทารก
เเนะนำให้สามีเเละครอบครัวให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อน
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
( Postpartum Depression )
อาการเเละอาการเเสดง
ฉุนเฉียวง่ายหรืออารมณ์โกรธ
ความวิตกกังวล อารมณ์แกว่งอย่างไม่มีเหตุผล
ปัญหาทางการนอนเช่น นอนไม่หลับหรือนอนมากเกินไป
การเปลี่ยนรสนิยมในการรับประทานอาหาร
มีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
การบำบัดรักษา
หากมีอาการควรประเมินอาการเบื้องต้นทันทีทุกราย
ปรึกษาจิตเเพทย์ร่วมกับทั้งการให้ยาเเละจิตบำบัด
การบำบัดด้วยยา จะใช้ยารักษาโรคภาวะซึมเศร้าในกลุ่ม
Selective serotonin reuptake inhibitor
ส่งเสริมสุขภาพมารดาเเละทารก
กลุ่มอาการชีแฮน ( Sheehan syndrome )
อาการเเละอาการแสดง
การทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติ
การไม่ผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือนหลัง คลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
การรักษา
การให้ฮอร์โมนเพศหญิงชดเชยหากฮอร์โมนเพศหญิงต่ำ
การป้องกันระยะ 24 ชม.หลังคลอดต้องเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
นางสาวเบญจวรรณ ฉัตรรักษา
590105
เลขที่ 57