Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resuscitation (การช่วยเหลือทารกในช่วงการหยุด…
Birth Asphyxia & Neonatal Resuscitation
แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์เเละขณะคลอด
การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ (Secondary apnea)
ทารกจะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นหายใจด้วยการสัมผัส
ในกรณีนี้ทารกต้องการการช่วยหายใจ
ทารกจะเริ่มหายใจเป็นเฮือก (gasp) และตามมาด้วยการหยุดหายใจ ความดันโลหิตจะเริ่มลดลง
การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ (primary apnea)
ทารกจะหายใจเร็ว ตามด้วยการหยุดหายใจอัตราการเต้นของหัวใจจะเริ่มลดลงทารกจะสามารถกลับมาหายใจเองได้ใหม่หลังจากได้รับการกระตุ้นหายใจ
อาการแสดงของทารกที่มีปัญหาขาดออกซิเจน
ความดันโลหิตต่ำ
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone) ลดลง
ภาวะกดการหายใจ (Respiratory depression)
ภาวะหายใจเร็ว (Tachypnea)
เขียว (Cyanosis)
การช่วยเหลือทารกในช่วงการหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ทารก Not vigorous: ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอดก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป
ทารก Vigorous: ดูดขี้เทาและสารคัดหลั่งจากปากและจมูกและช่วยเหลือตามขั้นตอน
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายกับทารก
การขยายหูรูดทวารหนัก
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การเขย่าตัวทารก
การตบบริเวณหลังหรือก้น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
ขั้นตอนเบื้องต้น
ดูดเสมหะ
เช็ดตัวของทารกให้เเห้ง
นอนในท่า ‘ Sniffing position’
ทำให้อุณหภูมิกายของทารกอบอุ่น
กระตุ้นการหายใจ
การประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ
ฟังเสียงหัวใจที่หน้าอก
คลำชีพจรที่สายสะดือ
ติดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ3-leads
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
Mild birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 6 - 7 คะแนน
Severe birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 0-3คะแนน
Moderate birth asphyxia
ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR (Apgar score) 4 – 5 คะแนน
การดูเเลหลังการกู้ชีพ
หลังการกู้ชีพควรวัดระดับน้ำ
ตาลในเลือด ซึ่งน้ำตาลต่ำทำให้สมองได้รับอันตราย
การหยุดกู้ชีพ
ทารกแรกเกิดในกรณีที่อายุครรภ< 23สัปดาห์
น้ำหนักแรกเกิด<4ขีด
ความผิดปกติของโครโมโซม Trisomy 13
ทารกที่ไม่มีศีรษะ(Anencephaly)
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา Epinephrine
การบริหารยา Epinephrine
ความเข้มข้นของยาที่แนะนำ = 1:10,000
ขนาดของยาที่แนะนำ = 0.1-0.3 มล./กก.ของยา epinephrine1:10,000 (ให้ 0.3-1 มล./กก. ถ้า ให้ทางท่อช่วยหายใจ)
วิธีบริหารยาที่แนะนำ = ทางหลอดเลือดดำ
(ใหทางท่อชวยหายใจได้ในระหว่างรอการใส่สายสวนหลอดเลือดดำ)
Epinephrine เป็นยากระตุ้นหัวใจโดยมีข้อบ่งชี้ในทารกที่ยังมีอัตราการเต้นของหัวใจต่ำ
กว่า60ครั้ง/นาที
Apgar score and asphyxia
คะแนน 6 - 7 (Mild / Blue asphyxia)
กระตุ้นโดยการสัมผัส
เช็ดตัวให้เเห้ง ให้ความอบอุน
ดูดเสมหะ
ให้ดมออกซิเจน 100%
คะแนน 8-10 (ไม่มีภาวะ Asphyxia)
ดูดเสมหะ
เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุน
คะแนน 4-5 (Moderate / Blue asphyxia)
ดูดเสมหะ
เริ่มช่วยการหายใจ โดยการใชถุงช่วยหายใจและหน้ากากด้วยออกซิเจน 100% (Ambu bag ĉ O2 100 %)
เช็ดตัวให้เเห้งให้ความอบอุ่น
คะแนน 0 - 3 ( Severe / White asphyxia )
เช็ดตัวให้เเห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุน
ดูดเสมหะ ( Suction )
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV)
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ
ถ้าHR < 60 ให้ทำ Chest compressions
หลัง Chest compression ( 45 – 60 วินาที)
ถ้า HR < 60ให้ยากระตุ้นหัวใจ ได้เเก่ เอพิเนฟรีน
ให้สารน้ำ
(Volume expander ) ได้เเก่ Normal saline (0.9% NaCl)หรือ Ringer’ s lactate
การตอบสนองต่อการให้สารน้ำ
ทดแทน
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ชีพจรแรงขึ้น สีผิวซีด ลดลง
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ถ้าภาวะช็อค (hypovolemic shock)ไม่ดีขึ้นพิจารณาให้สารน้ำทดแทนอีกครั้ง