Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1 (5.1การบวมเลือดของฝีเย็บ ( Hematoma )…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1
5.1การบวมเลือดของฝีเย็บ ( Hematoma )
ชนิดของ Hematoma
1.ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
2.ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ( Infralevator )
สาเหตุ
การคลอดรวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการผูกซ่อมแซม
บีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคั่งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็มไม่ถึงก้นแผล
อาการแสดง
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ
ตรวจพบก้อน โป่งแข็งที่แผลฝีเย็บ
ปัสสาวะไม่ได้
การรักษา
ประคบน้ำแข็ง
ก้อนใหญ่มากแก้ไขโดยการเข้าห้องผ่าตัด
ได้รับสารน้ำ เลือดทดแทนที่สูญเสียไป
การได้รับยาปฏิชีวนะ
ประเมินสัญาณชีพ
ประเมินระดับความเจ็บปวด
ทำแผล อบแผลหรือแช่ก้น
แนะนำทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกหลังหลังการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะทุกครั้ง โดยเช็คจากด้านหน้าไปด้านหลัง ห้ามเช็คย้อนขึ้นมา
5.2 มดลูกเข้าอู่ช้า ( Subinvolution of utrus )
อาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคราวปลาออกนาน ปริมานมากมีกลิ่นเหม็น
ตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลแก้ไขตามสาเหตุเมื่อพบความผิดปกติ
ประเมินระดับมดลูกวันละ 1 ครั้ง
ให้ความรู้ถึงอาการผิดปกติ
ดูแลและกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชั่วโมง
ส่งเสริมให้น้ำคราวปลาไหลได้สะดวก
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
5.3 การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
อาการแสดง
ไข้ อุณหภูมิสูง 38-39 องศาเซลเซียส
ปวดท้องน้อย
น้ำคราวปลามีกลิ่นเหม็น
น้ำคราวปลาไหลนานกว่าปกติ
พบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
ปวด บวม แดง ร้อนและมีหนอง
การรักษา
รักษาด้วยยาปฏีชีวนะทางหลอดเลือดดำ
การพักผ่อนและได้รับสารน้ำและอาหารที่เพียงพอ
การประเมินสัญญาณชีพและบันทึกทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวและระดับของมดลูก
การเช็ดตัวลดไข้
การทำแผลต่างๆ
5.4 เต้านมอักเสบเป็นฝี(Breast abscess)
อาการแสดง
เจ็บเต้าคลำได้ก้อน
เต้านมมีสีแดงคล้ำ
น้ำนมมีสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
ไม่สบายตัว
ปัจจัยเสี่ยง
ลูกดูดน้ำนมออกไม่เกลี้ยงเต้า
ลูกดูดนมจำนวนครั้งลดลง
แม่ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี
หัวนมแห้ง แตกและมีเชื้อโรคเข้าไปในเต้านม
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
การเจาะหรือใส่หลอดสวน
กรณีที่ให้งดดูดนมเต้านมข้างที่เป็นก้อน ต้องช่วยเหลือมารดาในการทำให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง โดยการใช้เครื่องปั๊มนม และแนะนำให้บีบน้ำนมออกสม่ำเสมอ
กรณีที่สีน้ำนมไม่เปลี่ยนหรือตรวจไม่พบเชื้อโรคในน้ำนมจะต้องกระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อน
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดดื่มน้ำมากๆ
แนะนำให้สวมเสื้อยกทรงที่ขนาดพอดี
หลังลูกดูดนมหรือหลังบีบน้ำนมใช้ความเย็นประคบลดอาการปวด
5.5 หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน (Thrombophlebitis )
อาการแสดง
กรณีการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำที่ขา
กรณีเกิดการอุดตันของหลอดเลือดที่ปอด
หายใจลำบาก
ไอถี่ๆหรือไอเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ภาวะช็อก
เท้าและขาบวม
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
คลำได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็ง
มีการเปลี่ยนสีที่ผิวหนัง
มีอาการปวดน่องเมื่อ กระดกปลายเท้าขึ้น
การรักษา
การให้ยาละลายลิ่มเลือด
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะหลอดเลือดดำอุดกั้น
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด
การได้รับสารน้ำ สารอาหารที่เพียงพอ
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจ
กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อเท้า
5.6ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues) และภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression )
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
อาการแสดง
นอนไม่หลับ
รู้สึกเศร้า
อยากร้องไห้
อ่อนเพลีย วิตกกังวลง่าย
ไม่ค่อยมีสมาธิ
ปวดศรีษะ
การรักษา
ให้ความมั่นใจและกำลังใจกับมารดาหลังคลอดว่าอาการนี้เป็นภาวะปกติ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลทารก
แนะนำสามีและครอบครัวให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อน
แนะนำการรับประทานอาหาร
การพักผ่อนให้เพียงพอ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression )
อาการ
ฉุนเฉียวง่าย
วิตกกังวล
มีปัญาหาทางการนอน
การเปลี่ยนรสนิยมในการรับประทานอาหาร
มีความคิดฆ่าตัวตาย
ขาดความสนใจลูก
เฉื่อยชา
สูญเสียความทรงจำ
การรักษา
ใช้ยารักษาภาวะซึมเศร้า
สร้างความเข้าใจภาวะผู้ป่วยแก่สามี ญาติและครอบครัว
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
การส่งเสริมสุขภาพมารดากับทารก
5.7กลุ่มอาการชีแฮน (Sheehan syndrome)
อาการ
การทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติ
การไม่ผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
มีอาการอ่อนเพลีย
การรักษา
ในกรณีที่ไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำต้องรักษาโดยการเสริมไทรอยด์ฮอร์โมน
การให้ฮอร์โมนเพศหญิงชดเชยหากฮอร์โมนเพศหญิงต่ำ
ป้องกันระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอดเฝ้าระวังภาวะตกเลือด
T
นางสาวอุษณีย์ พิลาศรี 590176