Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน (บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury) :,…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury) :
Caput succedaneum
สาเหตุ: 1.บวมน้ำบริเวณใต้ผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
2.หลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
3.ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
4.ศีรษะทารกถูกกดขณะคลอด
อาการเเสดง: ก้อนบวมบริเวณ occipito parietal region, บวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ(Suture line), ก้อนจะค่อยๆเล็กลงและหายไปภายใน 36 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
ความหมาย : การบวมน้ำของเนื้อเยื่ออ่อนของหนังศีรษะ
ดูแลรักษา: 1.สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆของcaput
2.รอยแดงช้ำ(ecchymosed)มาก อาจต้องส่องไฟ
Cephal hematoma
สาเหตุ:1.เด็กเเรกเกิดที่บาดเจ็บจากหัวเด็กผ่านทางคลอด
2.การช่วยคลอดด้วยคีม
อาการแสดง: 1ใพบก้อนนูนหลัง24ชั่วโมงไปแล้ว ก้อนค่อยๆมีขนาดใหญ่ขึ้นจนถึงขนาดหนึ่งจึงหยุดโต
2.ลักษณะก้อนค่อนข้างตึง มีขอบชัดเจน เมื่อใช้นิ้วกดจะไม่มีรอยบุ๋ม
ความหมาย: ก้อนเลือดที่ศีรษะ
การดูแลรักษา:อาการบวมจะหายได้เองในระยะเวลา2-3สัปดาห์
Subaponeurotic hemorrhage
อาการ:1.รอยบวมข้ามรอยต่อส่วนกลางศีรษะ
2.ลักษณะนุ่ม
3.เลือดอาจเซาะทั่วศีรษะถึงหน้าผาก
ดูเเลรักษา:-เลือดออกมากทำให้ช็อคหรือซีด ก้อนเลือดข้างใต้อาจติดเชื้อ ต้องถ่ายเลือดและฉายแสง ให้ยาต้านจุลชีพ
-หนังศีรษะมีบาดแผล ทำให้เกิดการติดเชื้อ ต้องรักษาโดยการระบายเลือดและให้ยาต้านจุลชีพ
ความหมาย:เลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกศีรษะ
Molding
อาการ:ทารกเกิดท่าศีรษะเป็นส่วนนำ ทำให้ศีรษะมีรูปร่างยาว
ดูแลรักษา:จะหายเองภายใน2-7วันหลังคลอด
สาเหตุ:เกิดจากทารกมีการปรับขนาดของศีรษะ
ความหมาย:การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
การบาดเจ็บของเนื้อเยื้อ
อาการ:รอยช้ำและเป็นก้อน
ดูแลรักษา:ไม่ต้องรักษา มักจะหายเอง
จ้ำเลือดใต้ผิวหนัง(Ecchymosis)
สาเหตุ:1.คลอดโดยVaccuum, Forceps extraction
อาการ:-จ้ำเลือดใต้ผิวหนังที่หนังศีรษะ ,แผลถลอก,Hemorrhagic caput succedaneum
เลือดออกที่ตาขาวและจอตา
สาเหตุ:เส้นเลือดฝอยที่ตาแตกเนื่องจากความดันสูง
ดูแลรักษาพยาบาล:หายเองภายใน5วัน
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา
สาเหตุ:หลอดเลือดฝอยแตก รอบๆแก้วตา
การดูเเลรักษา:หายเองภายใน2-3สัปดาห์
อาการชอกช้ำ เส้นเลือดฝอยแตกและผิวหนังมีอาการบวม
สาเหตุ:ใช้คีมช่วยคลอด,คีบกดกะโหลกศีรษะ ทำให้เกิดรอยช้ำที่ขอบตา
ดูแลรักษา:หายไปเอง2-3วัน
กระดูกไหปลาร้าหัก(Fracture clavicle)
ือาการ:-ทารกไม่ขยับแขนข้างที่หัก
-รู้สึกกรอบแกรบเมื่อคลำบริเวณที่กระดูหัก
-แขนสองข้างเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน เมื่อทดสอบ Moro reflex ทารกยกแขนข้างที่ดีเท่านั้น
ดูแลรักษา: 1.จัดแขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว
2.ให้ทารกนอนเฉยๆ
เส้นประสาทบาดเจ็บ
ต้นเเขนอัมพาต
เเขนส่วนล่างอัมพาต
ดูแลรักษาต้นเเขนอัมพาต:1.จำกัดความเคลื่อนไหว
2.ดูเเลความยืดหยุ่นผิวหนัง
3.เเนะนำเคลื่อนไหวอย่างนุ่มนวล
ดูแลรักษาแขนส่วนล่างอัมพาต:1.จำกัดความเคลื่อนไหวของนิ้วมือและข้อ
2.ต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไข
3.หลังผ่าตัด:แนะนำบรหารข้อต่อและนวดที่มือและแขน
ใบหน้าเป็นอัมพาต(Facial palsy)
อาการ:ใบหน้าเบี้ยวไปทางซีกดี ใบหน้า2ด้านจะไม่เท่ากัน ,ตาซีกที่เสียจะปิดไม่สนิท
ดูเเลรักษา: รบกวนทารกให้น้อยที่สุด,ล้างตาสะอาดด้วย0.9%NSS และหยอดตาด้วย kemicitine
สาเหตุ: ประสาทคู่ที่7 ถูกกด เนื่องจากใช้ตีมดึงในรายที่คลอดยาก
การบาดเจ็บที่สมอง
อาการ:รอยแยกขนาดกว้าง,กระหม่อมหน้าโป่งและตึง,เสียงแหลม,หายใจลำบาก,กระวนกระวาย,กล้ามเนื้อกระตุก
ดูแลรักษา:-ยกศีรษะสูง 30-45องศา
-วัดรอบศีรษะทุกวัน
-ระวังการสูดสำลัก
-ระวังการชัก
สาเหตุ:ตกเลือด มีก้อนเลือดกดเส้นประสาทที่สอง
ความพิการแต่กำเนิด(Congenital anomalies)
ปากแหว่ง เพดานโหว่
เพดานโหว่ รักษา:โดยการผ่าตัดตกแต่งปิดรอยแหว่งหรือรอยโหว่
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด:โดยใช้ medicine dropper
การพยาบาลหลังผ่าตัดตกแต่ง:ดูแลไม่ให้ทารกร้องไห้และไม่ให้ทารกออกแรงดูดนมเอง
สาเหตุปากแหว่ง:พันธุกรรม,สิ่งแวดล้อม เช่น พ่อแม่มีอายุมาก
หลอดอาหารตีบตันโดยกำเนิด
การรักษา:ผ่าตัดปิดFistulaพร้อมทั้งต่อหลอดอาหารให้
การพยาบาล:1.ดูเเลป้องกันการสูดสำลัก
2.จัดให้ทารกนอนในท่าศีรษะสูง ตะแคงหน้า
อาการ:หายใจเร็ว มีเสียงครืดคราดในลำคอ,หายใจลำบาก,มีการอุดกั้นของทางเดินอาหาร
ความพิการแต่กำเนิดของระบบทางเดินอาหาร
Gastroschisis
รักษา:ต้องรีบผ่าตัด
Omphalocele
การพยาบาล:รีบใช้ผ้าก๊อสไร้เชื้อชุบNSSชุ่มๆคลุมไว้ เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อแห้ง แตก
ไส้เลื่อนกระบังลม
อาการ:เขียว,หายใจลำบาก,เสียงหายใจลดลง,ทรวงอกหนาขึ้น,บริเวณท้องแฟบ,x-rayพบไส้เลื่อนกระบังลม
การพยาบาล:-ป้องกันภาวะขาดออกซิเจนสำคัญสุด
-ดูแลระบบไหลเวียนโลลหิตทำงานปกติ