Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน (ความพิการแต่กำเนิด …
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ความพิการแต่กำเนิด (Congenital anomalies)
ปากแหว่งเพดานโหว่
(Cleft Lip and Cleft Palate)
หลังผ่าตัดตบแต่ง เพดานโหว่
ป้องกันแผลแยก
ป้องกันแผลติดเชื้อ : ให้น้ำตามหลังการให้นม
ป้องกันทางเดินหายใจอุดตัน : ให้นอนคว่ำตะแคงหน้าหรือนอนตะแคง
เพดานโหว่ (Cleft Palate)
อาจเกิดเฉพาะบริเวณเพดานอ่อนหรือรวมไปถึงเพดานแข็งจะพบปากแหว่ง และเพดานโหว่ร่วมกันบ่อยกว่าปากแหว่งหรือเพดานโหว่อย่างเดียวเกือบ 2 เท่า
การรักษา : โดยการผ่าตัดตบแต่งปิดรอยแหว่งหรือรอยโหว่
ปากแหว่ง (Cleft Lip)
สาเหตุ : พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม เช่น พ่อแม่มีอายุมาก แม่ขาดอาหาร ได้รับยาบางชนิดหรือถูกรังสีขณะตั้งครรภ์ ความพิการเกิดขึ้นตั้งแต่เป็นตัวอ่อนในครรภ์เกิดเป็นรอยแหว่งขึ้น
การรักษา : จะทำการผ่าตัดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อให้เด็กดูดนมได้
การพยาบาลในระยะก่อนผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ โดยใช้ medicine dropper ค่อยๆป้อนเพื่อป้องกันการสำลักนมและน้ำ
อุ้มเรอบ่อยๆหลังป้อนนมจัดให้ทารกนอนท่าตะแคงขวา
การพยาบาลหลังผ่าตัดตกแต่งปากแหว่ง
ดูแลไม่ให้ทารกร้องไห้และไม่ให้ทารกออกแรงดูดนมเองยังคงใช้ medicine dropper ป้อนนมต่อ 1-2 wk.
ดูแลไม่ให้ทารกเอามือมาแกะหรือเกาแผล
ไส้เลื่อนกระบังลม (Congenital diaphragmatic hernia)
การพยาบาล
ดูแลป้องกันภาวะขาดออกซิเจนสำคัญที่สุด
ดูแลให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงานปกติ
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขียว (Cyanosis) หายใจลำบากเสียงใจลดลง
สังเกตพบทรวงอกหนาขึ้น (Bulgy chest) ส่วนบริเวณท้องแฟบ (Scaphoid abdomen)
Ankyloglossia ( Tongue-Tie)
การพยาบาล : 1. ดูแลป้องกันการสูดสำลัก
จัด ให้ทารกนอนในท่าศีรษะสูง ตะแคงหนา
การรักษา : การผ่าตัดปิด Fistula พร้อมทั้งต่อหลอดอาหารให้เป็นภาวะลิ้นติดเกิดจากมีภาวะผิดปกติของ Frenulum
อาการและอาการแสดง :
มีอาการหายใจเร็ว มีเสียงครืดคราดในลำคอ มีน้ำลายออกมาตลอดเวลา
Omphalocele และ Gastroschisis
การพยาบาลเบื้องต้น
รีบนำทารกใส่ตู้อบทารกแรกเกิด ( a warmed incubator)
ไม่วางทารกไว้ใต้ radiant heat
รีบใช้ผ้าก๊อสไร้เชื้อชุบ NSS.ชุ่มๆคลุมไว้เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อแห้ง แตกหรือหรือติดเชื้อ
Birth injury
เส้นประสาทบาดเจ็บ (Nerve injury)
ใบหน้าเป็นอัมพาต (Facial palsy
ตาซีกที่เสียจะปิดไม่สนิทหรือลืมตาอยู่ตลอดเวลา
ส่วนใหญ่เกิดมาจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ถูกกด
กล้ามเนื้อของใบหน้าซีกที่เส้นประสาทถูกกดจะไม่ขยับเคลื่อนที่เมื่อทารกร้องไห้ ทำให้มีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อใบหน้าขณะร้องไห้
การดูแลรักษาพยาบาล
ล้างตาให้สะอาดด้วย 0.9% N.S.S. และหยอดตาด้วย kemicitine หรือ eye ointment ตามแผนการรักษา แล้วปิดด้วย sterileeye pad วันละ 2 ครั้ง
ดูแลการได้รับนมและน้ำให้เพียงพอ ให้มารดาสอดหัวนมเข้าทางมุมปากข้างที่ปกติ สังเกตการดูดกลืนและระวังการสำลัก
Brachial palsy
ขยับมือไม่ได้ ข้อมือตก นิ้วคลายกำไม่ได้ แต่มี Moro Reflex ไหล่และแขนส่วนบนเหยียดกางเป็นปกติ พบในอันตรายต่อส่วนล่าง
การดูแลรักษาพยาบาล
ความเคลื่อนไหว (Immobilized) แขนข้างที่เป็นด้วย Brace หรือ Splint
กระดูกหัก (Skeletal injuries)
กระดูไหปลาร้าหัก (fracture clavicle)
อาการและอาการแสดง
แขน 2 ข้างเคลื่อนไหวไม่เท่ากันเมื่อทดสอบ Moro reflex ทารกยกแขนข้างที่ดีเท่านั้น
ทารกไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
รู้สึกกรอบแกรบเมื่อคลำบริเวณที่กระดูกหัก
การดูแลรักษาพยาบาล
จัดให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว (Immobilized) โดยกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อให้ข้อศอกงอ 90 องศาชิดลำตัว
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา (Subconjunctival hemorrhage)
มีหลอดเลือดฝอยแตกรอบๆ แก้วตา เกิดจากการเพิ่มความดันภายในหลอดเลือดขณะผ่านหนทางคลอด
หายได้เองภายใน 2-3 สัปดาห์
เลือดออกที่ตาขาวและจอตา
สาเหตุ
เป็นผลจากเส้นเลือดฝอยที่ตาแตก เนื่องจากความดันโลหิตสูง
อาการมักจะหายเองภายใน 5 วัน
Cephal hematoma
การดูแลรักษา : หายไปได้เองในระยะเวลา 2-3 สัปดาห์หรือบางรายภายใน 2 เดือน
พบบ่อยบริเวณ Parietal และมักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง
ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะใต้ชั้นของเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (subperiosteum หรือ subpericranium) เกิดจากมีเลือด ออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มกะโหลก
อาการแสดง / ตรวจพบ
ทารกอาจซีด เพราะเสียเลือดมาก ทารกซีดตัวเหลืองและช็อกได้ พบก้อนูนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
ก้อนจะค่อยๆมีขนาดใหญ่ขึ้นจนถึงขนาดหนึ่งจึงหยุดโต และคงอยู่นานหลายสัปดาห์หรือเป็นเดือน (เฉลี่ย 3-6 สัปดาห์)
ลักษณะก้อนค่อนข้างตึงมีขอบเขตชัดเจนเมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยบุ๋มหลังปล่อยนิ้วจะโป่งตึง
Caput succedaneum ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะในชั้นของหนังศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
การเกิดบวมน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
อาการแสดง / ตรวจพบ
การบวมน้ำของเนื้อเยื่อของหนังศีรษะ มีขอบเขตไม่ชัดเจน อาจข้ามรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะได้
คลำพบก้อนบวมได้บริเวณ occipito parietal region
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่ต้องการการรักษาก่อนจะหายไปเอง 2-3 วันหรือจนถึง 3-4 สัปดาห์ แล้วแต่ขนาดของก้อน
Subaponeurotic hemorrhage
ก้อนเลือดดที่ศีรษะเป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกศีรษะ (Galea aponeurotic) กับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (Periosteum)
มีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตา (Orbital ridge) ไปยังท้ายทอย และด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้างหนึ่ง
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
Molding
การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ (molding of the skull bones)
การดูแลรักษาพยาบาล
ภาวะนี้จะหายได้เองภายใน 2-7 วันหลังคลอด
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ (Soft tissue injuries)
อาการ / ตรวจพบ รอยช้ำและเป็นก้อน
การดูแลรักษาพยาบาล : ไม่ต้องการการรักษา มักจะหายไปเอง