Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะทรกซ้อน ในระยหลังคลอด 1 และ 2 (หลอดเลือดดำอักเสบจา…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะทรกซ้อน
ในระยหลังคลอด 1 และ 2
การบวมเลือดของแผลฝีเย็บ(Hematoma)
ชนิดของHematoma
ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน(Supralevator)
ไม่มีลักษณะบวมเลือด แต่มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
เกิดเหนือช่องคลอดหรือใต้เยื่อบุช่องท้อง
การรักษา : ผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อผูกเส้นเลือด
ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน(Infralevator)
หลังคลอดส่วนใหญ่จะพบบริเวณนี้ มักเกิดที่อวัยวะสืบพัธ์ภายนอก
ฝีเย็บ ปากช่องคลอด
มีลักษณะบวมเลือดให้เห็น
สาเหตุ
การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการซ่อมแซมก่อนเย็บแผลที่ฝีเยฺ็บ
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
เย็บฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
อาการแสดง
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ ช่องคลอดอย่างรุนแรง
พบก้อน โป่งแข็งที่แผลฝีเย็บ ก้อนจะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ มีสีม่วงคล้ำ
ปัสสาวะไม่ได้เพราะบวมปิดท่อปัสสาวะ
ถ้าเลือดคลั่งต่ำกว่า Urogenital diaphragm ก้อนเลือดจะดันฝีเย็บนูนโป่งที่ทวารหนัก ก้นกบ มารดาจะปวดถ่วงคล้ายจะถ่ายอุจจาระตลอด
การรักษาพยาบาล
มีก้อนเลือดขนาดใหญ่ ให้ผ่าต้ดนำก้อนเลือดออก เย็บซ่อมแซมเส้นเลือดที่ขาด
ให้ได้รับสารน้ำ ยาปฏิชีวนะ ทำแผล
มีก้อนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 ซมให้ประคบน้ำเเข็งลดปวดและบวม
ประเมินสัญญาณชีพทุก1 ชมและทุก 4 ชม
หลังคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันที ตามแนวทาง REEDA
มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolution of Uterus)
สาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีภายหลังคลอด มีปัจจัยดังนี้
เศษรกค้าง,มีก้อนเนื้องอกในมดลูก,C/S,ติดเชื้อที่โพรงมดลูก
ภาวะที่ทำให้มดลูกยืดขยาย เช่น ครรภ์แฝด,แฝดน้ำ,ทารกตัวโต
คลอดยาวนาน,ตั้งครรภ์มากกว่า 4ครั้ง
กระเพาะปัสสาวะเต็ม ดันมดลูกไว้
ไม่ได้ให้ลูกดูดนม
ภาวะมดลูกคว่ำหน้าหรือคว่ำมากเกินไป
อาการแสดง
พบมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคาวปากออกนาน หรือ มากกว่าปกติ มีสีแดงกลิ่นเหม็น พบมีไข้ร่วมด้วย
หากเกิดภาวะมดลูดหดรัดตัวไม่ดีอย่างรุนแรงทำให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด พบชีพจรเบา เร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น ความดันโลหิตต่ำ และช็อคในที่สุด
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน2ชมแรกหลังคลอด ทุก15นนาที หลังจากนั้นทุก 2-4 ชม จนครบ 24 ชม รวมทั้งประเมินหลังคลอดทุก 4 ชม หลังคลอด2-3 วัน
ดูแลแก้ไขตามสถานการณ์
ดูแลเพื่อขูดมดลูก
ได้รับสารน้ำ และยากระตุ้นการหดรัดตัวรวมทั้งยาปฏิชีวนะหากติดเชื้อ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ประเมินระดับมดลูกวันละ1 ครั้งในเวลาเดียวกันและด้วยวิธีที่เหมือนกัน
วิธีที่1 วัดจากระดับขอบบนของกระดูกหัวหน่าวถึงยอดมดลูก
วิธีที่2วัดจากระดับสะดือถึงยอดมดลูก
ให้ความรู้มารดาถึงอาการผิดปกติ และกระตุ้นให้บุตรตดูดนมแม่ทุก 2-3ชม
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก โดยกระตุ้นให้ลุกจจากเตียงโดยเร็ว เดินบ่อยๆ
ผลกระทบ
ทางอ้อม : ตกเลือดหลังคลอด,ติดเชื้อหลังคลอด
ทางตรง : ระยะเวลามดลูกคืนสู่ปกติช้า
การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
ปัจจัยเสี่ยง
Anemia,GDM,Obesity
ติดเชื้อในช่องคลอด
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ผ่าตัดคลอดบุตร,Prolong PROM,PV
อาการแสดง
ช่องคลอดอาจติดเชื้อที่แผลฝียีเย็บ บวมแดง ร้อน หรือมีหนอง
พบเม็ดเลือดขาว 15,000-30,000 เซลล์มล
น้ำคาวปลากลิ่นเหม็น,ไหลนานกว่าปกติหรือหยุดไปแล้วแต่กลับมามีใหม่หรือสีแดงจางลงแต่กลับมามีสีแดงมากขึ้น
ปวดท้องน้อย กดเจ็บParametrium เมื่อตรวจท้องและตรวจภายใน
มีไข้38-39องศาเซลเซียล อาจมีหนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดหลังร่วมด้วย
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัว และระดับของมดลูก ลักษณะสีและกลิ่นน้ำคาวปลา
ทำแผลตามหลัก Aseptic technique
ประเมินสัญญญาณชีพทุก 4ชมและอาการแสดง
พักผ่อน ได้สารน้ำและอาหาร
เมื่อติดเชื้อได้รับยาปฏิชีวนะ
ผลกระทบ
ปวดท้องน้อยเรื้อรัง
มีผังผืดในช่องท้อง
มดลูกเข้าอู่ช้ากว่าปกติ
มีประจำเดือนผิดปกติ มากระปริดกระปรอยหรือไม่มีประจำเดือน
กรณีติดเชื้อไม่รุนแรง มารดาจะไม่สุขสบาน ปวดแผล ปวดท้อง อาจให้นมบุตรไม่ได้ชั่วคราว
ติดเชื้อลุกลามจนต้องผ่าตัดมดลูกทิ้ง,หรือติดเชื้อในกระแสเลือด
ภาวะอารณ์เศร้าหลังคลอดและภาวะซึมเศร้า
หลังคลอด
Postpartum Depresstion
อาการ
นอนไม่หลับ รู้สึกเศร้า กังวล ไม่สดชื่น
อยากรร้องไห้ อ่อนเพลีย วิตกกังวลง่าย
การบำบัดรักษา
ให้ความมั่นใจและให้กำลังใจ ว่าเป็นภาวะปกตติและหายไปเอง
ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก
แนะนำสามีและครอบครัวให้กำลังใจ ไม่ให้ความสำคัญกับทารกจนลืมมารดา
มักเกิดในวันที่ 4-5 วันหลังคลอด แต่ไม่เกิน 2 สัปดาห์
Postpartum Depression
เกิดใน 4สัปดาห์หลังคลอดและมีอาการนาานกว่า 2 สัปดาห์ ถือว่าเป็นภาวะป่วย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การสูญเสียคุณค่าในตนเอง จาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม,มารดาอายุน้อย
ถูกครอบครัว สังคมทอดทิ้ง
มีประวัติซึมเศร้าก่อนตั้งครรภ์,มีประวัติเคยแท้ง,เคยซึมเศร้าหลังคลอกบุตรคนแรก
ประวัติเสพยาเสพติด ได้ยานอนหลับ
อาการแสดง
ฉุนเฉียวง่ายหรืออารณ์โกรธ
วิตกกังวล อารณ์แกว่งอย่างไม่มีเหตุผล
ปัญหาการนอน,การเปลี่ยนรสนิยมในการรับประทานอาหาร
มีความคิกที่จะฆ่าตัวตาย,ขาดความสนใจในตัวลูก คิดทำร้ายลูก
สูญเสียความทรงจำ,รู้สึกผิดหรือละอายใจ
การรักษา
ปรึกษาจิตแพทย์ ให้ยา บำบัดรักษา
พยาบาลรับฟังปัญหา พร้อมให้คำแนะนำ
สร้างความเข้าใจของภาวะป่วยแก่สามี ญาติและครอบครัว เพื่อร่วมกันรักษาบำบัด
ประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดา
เต้านมอักเสบเป็นฝี(Breast abscess)
ปัจจัยเสี่ยง
หัวนมแตก แห้ง มีเชื้อโรคเข้าเต้านมเกิดอักเสบติดเชื้อ
ลูกดูดนมลดลง,ท่อน้ำนมอุดตัน
ลุูกดูดนมออกไม่เกลี้ยงเต้า,ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี
อาการแสดง
ไข้30-40 องศาเซลเซียส
เต้ามนข้างที่เป็นฝีนมไม่ไหล หรือนมมีสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
เต้านมสีแดงคล้ำ ปวดถ่วงที่เต้านมกว่าปกติ
ไม่สบายตัว คลื่นไส้ อาเจียน
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อน
การรักษา
เจาหรือใส่หลอดสวนเพื่อระบายหนอง
ไม่งดดูดนมข้างที่เป็น นอกจากน้ำนมเปลี่ยนสีและตรวจพบเชื้อ
รักษาด้วยยาปฎิชีวนะ,ยาบรรเทาความเจ็บปวด
กรณีงดดูดนมข้างที่เป็น ต้องดูดแลทำให้เต้านมว่าง โดยการปั๊มนมทุก 2-3ชม
กระตุ้นให้มารดาดื่มน้ำมากๆ ประมาณ3,000 มล เพื่อช่วยผลิตน้ำนม
หลังจากลูกดูดหรือหลังบีบน้ำนม ใช้ความเย็นประคบ เพื่อลดอาการปวดและลดบวม
ผลการะทบ
เสี่ยงต่อติดเชื้อในกระเเสเลือด
หากลุกลาม เสี่ยงต่อการตัดเต้านม
เจ็บปวดจากภาวะเป็นฝีอักเสบ ไม่สุขสบายจากไข้
เต้านมข้างที่เป็นเสี่ยงต่อความสามารถในการผลิตน้ำนม
กลุ่มอาการชีแฮน(Sheehan syndrome)
อาการแสดง
การไม่ผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
การทำงานของต่อมหมวกไตผิดปกติ
มีอาการฮอร์โมยไทรอยด์ต่ำ
มีอาการอ่อนเพลัย เหนื่อยล้า เบื่ออาหาร ขี้หนาว
ปัจจัยเสี่ยง
1.สตรีที่มีภาวะตกเลือดก่อนคลอด หรือหลังคลอดรุนแรง
2.สตรีที่มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติทั่วร่างกาย DIC
การรักษา
ป้องกัน 24 ชมหลังคลอดเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ให้ฮอร์โมนเพศหญิงชดเชยหากฮอร์โมนเพศหญิงต่ำ
ป้องกันการตกเลือด
ไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำต้องเสริม eltroxin,hydrocortisone
ผลกระทบ
ต้องกินฮอร์โมนทดแทนตลอดชีวิต
ถ้าการทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติ ทำให้สมดุลเกลือแร่ในร่างกายสูยเสียไป
ผลจากการขาดฮอร์โมนไทรอยด์ ทำให้มีผลต่อการใช้ชีวติประจำวัน
อาจทำให้ไม่มีน้ำนมเลี้ยงบุตร
อาจไม่สามารถมีบุตรได้อีกถ้าขาดฮอร์โมนเพศ
หลอดเลือดดำอักเสบจาการอุดตัน(Thrombophlebitis)
สาเหตุ
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดำ
เลือดเเข็งตัวได้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของเลือดดำ
ปัจจัยเสี่ยง
การคลอดหลายครั้ง
ครรภ์แฝด
ประวัติสูบบุหรี่
ภาวะอ้วน
อายุมากกว่า 35 ปี
กรรมพันธ์ุ
ประเภท
1.การอุกตันอักเสบของหลอดเลือดระดับตื้น(Superficial venous thrombosis)
2.การอุดตันของหลอดเลือดที่อยู่ลึก(Deepvenous thrombosis )
3.การอุดตันของหลอดเลือดที่ปอด(Pulmonary embolism)
อาการแสดง
กรณีเกิดการอุดตันของหลอดเลือดที่ปอด
ไอถี่ๆหรือไอเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว,ภาวะซ็อค
หายใจลำบาก เวลาหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดแทง
กรณีการเกิดลิ่มเลือดอุดตันที่ขา
มีการเปลี่ยนสีที่ผิวหนัง เริ่มแรกสีแดงหากนานไปมีสีคล้ำ
ปวดน่องเมื่อกระดกปลายเท้าขึ้น
อาจคลำได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็ง จากการเเข็งตัวของเลือดในหลอดเลือดดำ
เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น,ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
การรักษา
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจเพื่อเพิ่มการไหล กลับของเลือดดำ,กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อเท้า
สอนการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้มีการเคลือนไหวโดยเร็วที่สุด
ให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ เช่น Heparin,Wafarin
ผลกระทบ
เจ็บปวดจากภาวะหลอดเลือดดำ
เสี่ยงต่อความพิการหากเกิดภาวะอักเสบรุนแรง
เสี่ยงต่อหลอดเลือดดำอุดตันที่ปอด