Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation (์Newborn Asphyxia…
Birth Asphyxia & Neonatal Resucitation
เเนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพ
ปัญหาขาดออกซิเจน
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะกดการหายใจ(Respiratory depression)
ภาวะหายใจเร็ว(Tachypnea)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone)
เขียว (Cyanosis)
ภาวะขาดออกซิเจนในครรภ์เเละขณะคลอด
หยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ
หายใจเฮือก ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นหายใจด้วยการสัมผัส
หยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ
ทารกสามารถกลับมาหายใจเองได้ใหม่หลังจากได้รับการกระตุ้นหายใจ
การเสนอเเนะเพื่อลดโอกาสการเกิดอันตรายต่อสมอง
3.หลีกเลี่ยงการให้เเรงดันบวก
4.ใช้pulse oximetryเเละค่า Bloody gas
2.ไม่ว่างขาของทารกให้สูงกว่าศีรษะ
5.ไม่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเกินไป
1.ดุเเลทารกอย่างนุ่มนวล
การหยุดกู้ชีพ
น้ำหนัก<400
ทารกไม่มีศีรษะ
คลำชีพจรไม่พบนาน 10 นาทีควรหยุด
อายุครรภ์<23สัปดาห์
์Newborn Asphyxia
เสี่ยงระหว่างคลอด
ท่าผิดปกติ หรือ คลอดติดไหล่ Shoulder dystocia
การติดเชื้อของรกเเละถุงน้ำคร่ำ chorioamnionitis
รกลอกตัวผิดปกติ
สายสะดือย้อย Prolapsed cord
เสี่ยงก่อนคลอด
ครรภ์เเฝด
ความดันสูง
อายุครรภ์ <36 wk.หรืออายุครรภ์ >41 wk.
มีความผิดปกติ หรือ ความพิการรุนเเรง
อาการของทารกเเรกเกิดที่มีปัญหาการปรับตัว
ค่าความดันโลหิตต่ำ
APGAR
หายใจไม่สม่ำเสมอหรือไม่หายใจ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
การเตียมความพร้อมในการช่วยเหลือทารกเเรกเกิด
1.การคาดคะเนล่วงหน้า
-อายุครรภ์
-สีน้ำคร่ำ
-จำนวนทารก
-ปัจจัยเสี่ยง
3.อุปกรณ์
2.บุคลากร อย่างน้อย2คน
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกเเรกเกิด
2.ขั้นปานกลาง Apgar score 4-5 คะเเนน
3.ขั้นน้อยApgar score 6-7 คะเเนน
1.ขั้นรุนเเรง Apgar score 0-3 คะเเนน
การให้ความอบอุ่นเเก่ทารก
เช็ดตัวให้เเห้ง
เอาผ้าเปียกออก
วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายกับทารก
การยกขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง ตับเเละม้ามเเตก
การขยายหูรูดทวารหนัก หูรูด ทวารหนักฉีกขาด
การกดเค้นบริเวณซี่โครง ซี่โครงหัก ลมรั่วในเยื่อหุ้มปอด หอบ
การตบบริเวณหลังหรือก้น เกิดรอยจ้ำเลือด
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น ผิวหนังไหม้,อุณหภูมิไม่คงที่
การเขย่าตัวทารก อันตรายต่อสมอง
นางสาวธนัชพร ทุ่งปรือ 590234