Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia , Neonatal Resucitation (การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายกับทาร…
Birth Asphyxia , Neonatal Resucitation
ภาวะพร่องออกซิเจนของทารกในครรภ์และขณะคลอด
การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ
ทารกหายใจเร็ว
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ
ทารกหายใจเป็นเฮือก
หยุดหายใจ
ความดันโลหิตลดลง
การช่วยเหลือทารก
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
การเตรียมตัวสำหรับการช่วยกู้ชีพ
อายุครรภืครบกำหนดไหม
ทารกร้องไห้หรือหายใจไหม
กล้ามเนื้อของทารกมีแรงหรือไม่
ขั้นตอนเบื้องต้น
ทำให้อุณหภูมิกายทารกอบอุ่น
นอนในท่า Sniffing position
ดูดเสมหะให้
เช็ดตัวของทารกให้แห้ง
กระตุ้นการหายใจ
ขั้นตอนเบื้องต้นมีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ทารก Not vigorous ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอดก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป
ทารก Vigorous ดูดขี้เทาและสารคัดหลั่งจากปากและจมูกและช่วยเหลือตามขั้นตอน
การใส่ท่อช่วยหายใจข้อบ่งชี้
กรณีที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ หากทารก Not Vigorous
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกไม่มีประสิทธิภาพ หรือต้องช่วยหายใจเป็นเวลาหลายนาที
เมื่อต้องทำการกดหน้าอกเพื่อให้สัมพันธ์กับการช่วยหายใจ
เมื่อต้องให้ยา Epinephrine ระหว่างรอการหาหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา Epinephrinre
ทารกที่ยังมีอัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 60 ครั้ง/นาที
ไม่ควรให้ยา epinephrinre ก่อนการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างมีประสิทธิภาพ
ความเข้มข้นของยาที่แนะนำ =1:10000 ให้ทางหลอดเลือดดำ
ขนาดยาที่แนะนำ=0.1-0.3 มล./กก. ของยา epinephrinre 1:10000(ให้ 0.3-1 มล./กก. ถ้าให้ทางท่อช่วยหายใจ)
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายกับทารก
การตบหลังหรือก้น
การกดเค้นบริเวณซี่โครง
การยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การขยายหูรูดทวารหนัก
การใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็น
การเขย่าตัวทารก
นางสาวอุษณีย์ พิลาศรี 590176