Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ (นิยามต่างๆ (พระราชบัญญัติ 2546…
ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
นิยามต่างๆ
พระราชบัญญัติ 2546
เกณฑ์อายุตามปฎิทิน บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป
ลักษณะภายนอก เช่น หน้าตาที่ดูมีอายุ ผิวหนังเหี่ยวย่น ผมหงอกสีขาว
การมีสุขภาพและความจำที่ไม่ดี ต้องพึ่งพาคนอื่น
ควาทสามารถในการทำงานลดลง
พฤติกรรมและอารมณ์ เช่น จุกจิก ขี้บ่น ย้ำคิดย้ำทำ
การเปลี่ยนแปลงทางสถานภาพเป็น ปู่ ย่า ตา ยาย
WHO
การสูงอายุตามวัยหรือปีปฎทิน
การเปลี่ยนแปลงชีวิวิทยา
สภาพร่างกาย
ความสามารถในการดำเนินชีวิต
องค์กรสหประชาชาติ UN
การประชุมสมัชชาโลก 1982
กำหนดเป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งชายและหญิง
ความหมายของผู้สูงอายุ
ในประเทศไทย
ผู้สูงอายุ
บุคคลซึ่งอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป , สัญชาติไทย
วัยสูงอายุตอนต้น (Young -old) อายุ 60-69 ปี
วัยสูงอายุตอนกลาง (Mediun-old) อายุ 70-79 ปี
วัยสูงอายุตอนปลาย (Old-old) อายุ 80 ปีหรือมากกว่า
ต่างประเทศ -ที่พัฒนาแล้ว
ใช้เกณ์อายุ 65 ปีขึ้นไป
วัยสูงอายุตอนกลาง (Middle old age) อายุ 75-84 ปี
วัยผู้สูงอายุตอนปลาย (late old age) อายุ 85 ปีขึ้นไป
วัยผู้สูงอายุตอนต้น (Early old age) อายุ 65-74 ปี
ประเภทผู้สูงอายุ
พฤฒพลัง (Active aging)
ผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค
มีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีระวิทยา จิตใจและสังคม
มีชีวิตที่อิสระ มีส่วนร่วม และทำได้สำเร็จด้วยตนเอง
องค์ประกอบที่สำคัญของภาวะพฤฒพลัง
การส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดี
การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมีหลักประกันชีวิต
การส่งเสริมการมีส่วนร่วม กิจกรรมในครอบครัว ชุมชนและสังคม
Successful aging
ผู้สูงอายุที่ประสบผลสำเร็จ
มีศักยภาพ มีความพึงพอใจต่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่
มีความพึงพอใจในชีวิต
เห็นคุณค่าในตนเอง
มีกิจกรรมสร้างสรรค์และมีปฎิสัมพันธ์กับคนอื่น
Frail aging
ผู้สูงอายุจวนสิ้นอายุไข
เป็นกระบวนการทางธรรมชาติของผู้สูงอายุที่แก่ขึ้น
กับโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
แนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะ Frailty
ทำให้สุขภาพสมบูรณ์อยู่ก่อนเสมอ
ออกกำลังกายแบบต้านแรงต่อต้าน เช่น ยกน้ำหนัก วิดพื้น
อย่าอยู่คนเดียว ให้ติดต่อเพื่อนฝูงบ้าง
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์