Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (จุดมุ่งหมายของการวัด…
บทที่ 1 หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดพื้นฐานในการวัดประเมินผลการศึกษา
หลักสูตร
กระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการวัด ประเมินผล
การเรียนการสอนกับการวัด ประเมินผล
ความสำคัญของการวัด ประเมินผลการศึกษา
ด้านการบริหารจัดการ
2.2 การแนะแนวและการจัดกิจกรรม ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ที่บ่งบอก ระดับความสามารถความถนัด ความสนใจของผู้เรียน มีประโยชน์ ต่อครูผู้ทำหน้าที่และ รับผิดชอบในส่วนงานการจัดกิจกรรมการแนะแนวการศึกษาและอาชีพและต่อผู้บริหารสถานศึกษา
2.1 การบริหารงาน จากข้อมูลและข้อสรุปสภาพการจัดการเรียนการสอน สามารถใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผนการปฏิบัติงาน การส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการการประเมินผลการปฏิบัติงานตลอดจนการประเมินคุณภาพในการจัดการศึกษาซึ่งเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาภาระงานและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ด้านการเรียนการสอน
1.1 ตัวผู้เรียน ผลการวดัที่แสดงผลการเรียนรู้ จะช่วยบ่งบอกความสามารถใน การเรียนรู้ ความก้าวหน้า ความงอกงามของการเรียนรู้ และศักยภาพในการเรียนรู้ ของผู้เรียน โดยผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ ที่เกิดจากการเรียนการสอนจะเป็นประโยชน์ ต่อผู้เรียน
1.2 ครูผู้สอน ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้จากการเรียนการสอนที่ได้มาและ ที่บ่งบอกระดับความสามารถของผู้เรียน ความเด่นด้อยของผู้เรียนทั้งทางด้านความรู้– ความสามารถ – ทักษะการปฏิบัติ– ลักษณะนิสัย โดยผลการวัดหรือผลการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน
1.3 ผู้ปกครอง การรายงานผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ ที่บ่งบอกระดับ ความสามารถและจุดเด่นด้อยของผู้เรียน มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อผู้ปกครอง ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจในตัวบุตรหลานได้รับทราบผลการเรียนรู้ ความก้าวหน้าในการเรียนรู้และทำให้ ผู้ปกครองมีโอกาสในการช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุนชี้แนวทางแก่บุตรหลานได้ ถูกต้องตามระดับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของบุตรหลานของตน
ด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัย
ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ของผู้เรียน นับว่าเป็นข้อมูลสำคัญยิ่งต่อการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา ในการค้นหา วิธีการสอนสื่อกิจกรรม แบบฝึกที่มีประสิทธิภาพที่เหมาะกับความสามารถของกลุ่มผู้เรียนนอกจากนั้นการรายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสามารถสรุปรายงานในเชิง วิจัยหรือนำข้อมูลมาศึกษาค้นคว้าเพื่อจัดทางานวิจัยได้อีกด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการเรียนการสอน และการวัด ประเมินผล
แบบผสมผสานเป็นเกลียว
แบบพื้นฐานของกระบวนการเรียนการสอน
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล
แบบที่ 2 แบบแยกส่วนต่อเนื่อง
มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดประเมินผล ที่แยกจากกัน เป็นส่วนๆ แต่เชื่อมโยงที่มีความต่อเนื่องในการดำเนินการ
แบบที่ 1 แบบแยกส่วน
มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนหลักสูตรการเรียนการสอน การวัด ประเมินผล ที่แยกกันเป็นส่วนๆ โดยแต่ละส่วนมีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มีความสอดคล้องและส่งผลต่อกันและกัน
จุดมุ่งหมายของการวัด ประเมินผลการศึกษา
เพื่อการจัดตำแหน่ง
1.1 เพื่อการคัดเลือก
1.2 เพื่อการจำแนก
เพื่อการวินิจฉัย
เพื่อการเปรียบเทียบความก้าวหน้า
เพื่อการพยากรณ์
เพื่อการประเมินค่า
ระดับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินระดับชั้นเรียน
การประเมินระดับสถานศึกษา
การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การประเมินระดับชาติ
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตดั สินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้นผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลักและต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้าน อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
1.2 การให้ระดับผลการเรียน
1.3 การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่างน้อย ภาคเรียนละ 1 ครั้งการรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
เกณฑ์การจบการศึกษา