Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการวัดเเละ ประเมินผลการศึกษา (จุดมุ่งหมาย (เพื่อการจัดตำเเหน่…
หลักการวัดเเละ
ประเมินผลการศึกษา
เเนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กับหลักสูตร
เเบบที่ 1 เเบบเเยกส่วน
มีองค์ประกอบ 3 ส่วน
ส่วนหลักสูตร ( จุดมุ่งหมาย,เนื้อหา )
ส่วนการเรียน การสอน
อาศัยเนื้อหา จุดมุ่งหมายของหลักสูตร : โดยการวัด ประเมินผลทำหน้าที่ตรวจสอบผลการจัดการเรียนการสอน
ส่วนการวัด ประเมินผล
อาศัยเนื้อหาเเละจุดมุ่งหมายของหลักสูตร : ในการกำหนดลักษณะสิ่งที่ต้องการวัด
เเบบที่ 2
เเบบเเยกส่วนต่อเนื่อง
มีองค์ประกอบ 3 ส่วน
ส่วนหลักสูตร ( จุดมุ่งหมาย, เนื้อหา )
ส่วนการเรียน การสอน
อาศัยเนื้อหา จุดมุ่งหมายของหลักสูตรในการจัดการเรียน
ส่วนการวัด ประเมินผล
อาศัยเนื้อหาเป็นผลคาดหวังให้เกิดขึ้นหลังการเรียน
ผลการวัดจะใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพิจารณาสภาพการจัดการเรียนการสอนเเละเนื้อหาสาระ
เเนวคิดของกระบวนการเรียนการสอน
เเบบพื้นฐาน
การเรียนการสอนต้องคำนึงถึงจุดประสงค์การเรียนเเละพฤติกรรมของผู้เรียน
เมื่อการเรียนการสอนสิ้นสุดต้องมีการวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบจุดประสงค์การสอนเเละพฤติกรรมผู้เรียนเเละกระบวนการจัดการเรียนการสอน
" เเนวคิดนี้เเยกการสอนกับการสอบออกจากกัน "
" สอนเเล้วสอบ สอบเเล้วสอน "
แบบผสมผสานเป็นเกลียว
การเรียน การสอนเเละการสอบ
จะดำเนินการไปพร้อมกันอย่างต่อเนื่อง
เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ความสามารถ ส่วนการสอบต้องประเมินตามความเป็นจริงเเละต่อเนื่อง
การสอบจะทำหน้าที่หาจุดเด่น จุดด้อยหรือ
ความสามารถของผู้เรียนเพื่อใช้ในการพัฒนา
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
" การสอบเป็นส่วนหนึ่งของการสอน "
จุดมุ่งหมาย
เพื่อการจัดตำเเหน่ง
เป็นการนำผลการวัดหรือผลการเรียนรู้เเต่ละบุคคลมาจัดกลุ่มระดับความรู้ ความสามารถ
เพื่อจัดประเภทเเละตำเเหน่ง
อาศัยเครื่องมือหรือเเบบทดสอบในการวัดผลสัมฤทธิ์ ความถนัดหรือความพร้อมเป็นหลัก
การจัดตำเเหน่งนิยมใช้กันมากที่สุด 2 ลักษณะ
1.1 เพื่อการคัดเลือก
การวัดต้องคำนึงถึงระดับความรู้จากคะเเนน
การสอบเพื่อตัดสินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด
ผลการสอบ ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้
ใช้เพื่อจัดผู้สอบเป็นกลุ่ม
เเบบทดสอบที่ใช้มีเเนวโน้มค่อนข้างยาก
1.2 เพื่อการจำเเนก
ผลการสอบ ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ใช้ในการจำเเนกความเก่ง
การวัดเเบบนี้ใช้กันมากในระบบการเรียนการสอน
โดยการจำเเนกจะจัดเป็นกลุ่มหรือการเรียงอันดับ
เพื่อการวินิจฉัย
ใช้ผลการสอบเพื่อค้นหาความเด่น - ความด้อยในเนื้อหาเพื่อค้นหาสาเหตุ
เป็นประโยชน์ในการปรับปรุง พัฒนาและการซ่อมเสริมผลการเรียนของผู้เรียน
เพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า
เป็นการตรวจสอบพัฒนาการ
ในการเรียนของผู้เรียน
ใช้ตรวจสอบพัฒนาการในการเรียนของผู้เรียน
การวัดในลักษณะนี้ต้องกระทำ 2 ครั้งเเล้วนำข้อมูลมาเทียบกัน
เพื่อการพยากรณ์
ต้องนำผลการสอบ ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้
ไปใช้คาดคะเนความสำเร็จในอนาคต
การสอบจึงต้องมุ่งเน้นไปที่ศักยภาพของบุคคล
ผลการเรียนในลักษณะนี้มีประโยชน์ต่อผู้เรียนในการ
นำไปปรับปรุงเเละพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มี
ประสิทธิภาพเเละถูกทิศทาง
เพื่อการประเมินค่า
ต้องนำผลการสอบ ผลการวัดเเละผลการเรียนรู้มาประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดการศึกษาว่ามีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายหรือไม่
ผลการวัดประเภทนี้จะเป็นข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้บริหารเพื่อใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาเเละการบริหารจัดการ
โครงสร้างของหลักสูตร
การเรียนการสอน
เป็นการกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้เเละกระตุ้นพฤติกรรมที่พึงประสงค์
มีการใช้เทคนิคการสอน การจัดกิจกรรมเเละสื่อการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหา
การวัด ประเมินผล
เป็นการตรวจสอบคุณสมบัติหรือคุณลักษณะ
ของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ช่วยตรวจสอบประสิทธิภาพเเละประสิทธิผลของการจัดการเรียน
หลักสูตร
จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตาม
ความต้องการที่มุ่งหวัง
เป็นส่วนกำหนดทิศทางเเละกิจกรรม
ในการจัดการเรียนการสอน
มีการกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร :
เพื่อเป็นตัวกำหนดคุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่มุ่งให้เกิดกับผู้เรียน
มีขอบข่ายของเนื้อหาเเละคำอธิบายรายวิชา :
เพื่อกำหนดขอบข่ายเเละสาระความรู้ต่อการเรียน
ของผู้เรียน
มีเนื้อหาทำหน้าที่เป็นสื่อ :
เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรหรือจุดประสงค์การสอน
ความสำคัญ
ด้านการเรียนการสอน
1.1 ตัวผู้เรียน
ช่วยบ่งบอกความสามารถ ความก้าวหน้า
เเละศักยภาพในการเรียนของผู้เรียน
ช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้
ช่วยให้ผู้เรียนรู้ระดับความสามารถ
จุดเด่น จุดด้อยของตัวเอง
ช่วยในการเลือกเเผนการเรียนหรือ
การประกอบอาชีพ
ช่วยให้ผู้เรียนรู้ความถนัดหรือความสนใจของตัวเอง
ช่วยให้เห็นสภาพการเรียนหรือ
ความสำเร็จในการเรียนชัดเจนขึ้น
1.2 ครูผู้สอน
ช่วยในการเเก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน
ช่วยในการปรับปรุงเเละพัฒนาการเรียนการสอน
ช่วยในการเลือกใช้วิธีการสอนเเละ
การจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ช่วยในการตัดสินผลการเรียนในวิชาที่สอน
เเละการเลื่อนชั้นหรือการจบการศึกษา
ช่วยในการรายงานผลสรุปในการจัดการเรียน
การสอนให้กับผู้บริหารสถานศึกษาเเละผู้ปกครอง
1.3 ผู้ปกครอง
ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจในตัวของผู้เรียนมากขึ้น
ทำให้ผู้ปกครองทราบผลการเรียนรู้
ของตัวผู้เรียนอยู่อย่างสม่ำเสมอ
ทำให้ผู้ปกครองมีโอกาสในการช่วยเหลือ
สนับสนุนเเละชี้เเนะเเนวทางให้กับผู้เรียนได้
ถูกต้องตามความสามารถ ความสนใจเเละ
ความถนัดของตัวผู้เรียน
ด้านการบริหารจัดการ
2.1 การบริหารงาน
ใช้เป็นข้อมูลในการวางเเผนการปฏิบัติงาน
ใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม
เเละโครงการต่างๆ
ใช้ในการประเมินผลการปฎิบัติงาน
เเละประเมินคุณภาพในการจัดการศึกษา
เป็นประโยชน์ในการพัฒนาภาระงาน
เเละการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.2 การเเนะเเนวเเละการจัดกิจกรรม
ช่วยในการเเนะเเนวทางในการเลือกเเผนการเรียน การศึกษาต่อ การเลือกอาชีพ
ช่วยให้ผู้เรียนมีความมั่นใจเเละมีกำลังใจ
ในการเรียนมากขึ้น
ช่วยในการสนับสนุนหรือส่งเสริมการจัดกิจกรรม
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตัวเอง
เป็นการช่วยสร้างสัมพันธภาพเเละความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองเเละชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
ด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัย
ใช้เป็นข้อมูลสำหรับครูผู้สอนเเละผู้บริหาร สถานศึกษาในการพัฒนากระบวนการจัด
การเรียนการสอน
ใช้ในการช่วยค้นหาวิธีการสอน สื่อ
กิจกรรมเเละเเบบฝึกหัดที่มีประสิทธิภาพ
เหมาะกับผู้เรียน
สามารถนำรายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาทำรายงานในเชิงวิจัยหรือนำข้อมูลมาศึกษาค้นคว้าเพื่อทำงานวิจัยได้
หลักการวัดผลการศึกษา
วัดให้ตรงจุดประสงค์
เครื่องมือที่สร้างขึ้นมาต้องสามารถวัด
ได้ตรงจุด ตรงประเด็น
เมื่อนำผลการวัดไปใช้จะทำให้ไม่เกิดความผิดพลาดต่อการเเปลเเละสรุปผล
ใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพเเละใช้อย่างยุติธรรม
ในการวัดจะต้องอาศัยข้อมูลหรือผลการวัดที่
เชื่อถือได้ จึงต้องใช้เครื่องมือที่ดีมี
คุณภาพเพื่อให้ผลการวัดอกมาเชื่อถือได้
หากใช้เครื่องมือที่ขาดคุณภาพหรือคุณภาพต่ำ
ผลการวัดอาจเกิดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้
ลักษณะของเครื่องมือที่ดีสามารถพิจาณาได้หลายด้าน ดังนี้
ด้านมีความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น
ความเป็นปรนัย
ค่าอำนาจจำเเนก
ค่าความยากง่าย
แปลผลถูกต้องและใช้ผลอย่างคุ้มค่า
ผลการวัดจะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดเมื่อการเเปลผลมีความถูกต้องและใช้ผล
ได้อย่างคุ้มค่า
ผลการวัดในเเต่ละครั้งจะมีทั้ง
ข้อมูลเชิงปริมาณเเละเชิงคุณภาพ
เชิงปริมาณจะได้ข้อมูลเป็นตัวเลข
ในรูปของคะเเนนหรือการให้อันดับที่
เชิงคุณภาพจะอยู่ในรูปสาระ ข้อความที่ได้จากการบันทึก, บันทึก, ตรวจงานหรือการให้ระดับคุณภาพ
ที่เป็นผลการประเมิน
" เเต่ละส่วนมีความเกี่ยวข้อง
ความสอดคล้องเเละส่งผลต่อกันเเละกัน "
" เเต่ละส่วนเชื่อมโยงมีต่อเนื่องกัน "