Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ส่วนโครงสร้างรับแรงตามแนวแกน และแรงดัดร่วมกับ (หลักการออกแบบส่วน…
บทที่ 5
ส่วนโครงสร้างรับแรงตามแนวแกน
และแรงดัดร่วมกับ
หลักการออกแบบส่วนโครงสร้าง
คาน - เสาไม้
การพิารณาหาหน่วยแรงรวม
อาศัยหลักการรวมผล (Superposition)
โครงสร้างรับโมเมนต์ดัดอย่างเดียว(Mo)
เกิดการโก่งตัวแนวดิ่ง = Δ
แรงอัดกระทำตามมา
ตลอดความยาวโครงสร้าง
รับแรงอัดและโมเมนต์ดัดเพิ่มขึ้น
= Mo + PΔ
ค่าตัวคุณประกอบขยายโมเมนต์ดัด
จะมากขึ้นตามค่าแรงอัดและอัตราส่วนความชะลูด
การวิเคราห์
นำผลของ P-Δ
มาร่วมพิจารณา
พิจารณาความต้านทานปลอดภัย
ความสัมพันธ์อัตราส่วนแรงตามแนวแกน
กับอัตราส่วนหน่วยแรงอัด(Interaction Equation)
การออกแบบส่วนโครงสร้าง
รับแรงดึงและแรงดัดร่วมกัน
ไม่ต้องคิดผลของ P-Δ
โครงสร้างถูกดึงให้เหยีดตรงเสมอ
พิจารณาตรวจสอบหน่วยแรงรวมที่ด้าน
รับแรงดึงของคาน ซึ่งมีค่ามากที่สุด
หน่วยแรงดัดมากกว่าหน่วยแรงดึง
ไม่นำ Cd Cf มาพิจารณา
การออกแบบส่วนโครงสร้าง
รับแรงอัดและแรงดัดร่วมกัน
ตรวจสอบหน่วยแรงรวมที่ด้าน
รับแรงอัดของคาน กระทำมากที่สุด
ตัวคุณประกอบขยายโมเมนต์ดัด
มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 เสมอ
ตัวคูณ JxและJy มีค่าขึ้นอยู่กับ
ความชะลูดของคาน-เสา
ประเภทของคาน-เสา
ก.คาน-เสาสั้น คาน-เสายาวปานกลาง
และคาน-เสายาว
ข.คาน-เสาสั้น คาน และคาน-เสายาว
การออกแบบส่วนโครงสร้าง
รับแรงดัดสองแกนพร้อมกัน
พิจารณาตามการออกแบบส่วนโครงสร้าง
รับแรงดึงและแรงดัดร่วมกัน
พิจารณาโดยตัดเทอมของ
หน่วยแรงตามแนวแกนออก
(fa =0)
การพิจารณาเลือกขนาดคาน - เสา
1.ใช้วิธีการลองผิดลองถูก
(Trial and error)
สมมุติความหนาไม้ขึ้นมาก่อน
2.คำนวณหาหน่วยแรงที่กระทำ
และหน่วยแรงที่ยอมให้
3.เปรียบเทียบตามสมการ Interaction
การออกแบบเสาไม้ที่มีหูช้าง
ยื่นด้านข้าง
ปลายทั้งสองเป็นแบบยึดหมุน
ความสุงหูช้างไม่น้อยกว่าสามในสี่
ของความสูงของเสา
น้ำหนักตามแกนกระทำที่ปลายเสา
และหูช้างรับน้ำหนักกระทำด้วย
การออกแบบคานโครง
โครงสร้างไม้ในแนวนอนคล้ายคานไม้
หากใช้คานไม้ธรรมดาวางพาดระหว่างเสา
ต้องใช้คานที่ลึกมาก
ประเภทของคานโครง
แบบใช้ไม้ค้ำยันเพียงตัวเดียว
(Single strut stussed beam)
แบบใช้ไม้ค้ำยันคู่
(Double strut trussed beam)
ส่วนประกอบของคานโครง
ไม้ค้ำ
ลวดเหล็กหรือท่อนเหล็ก
คานไม้
โครงสร้างแบบ Inditerminate
วิธี Superposition
วิธี Least Work