Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกดิที่มีภาวะแทรกซ้อน การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)…
การพยาบาลทารกแรกเกดิที่มีภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
5 การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ (Soft tissue injuries)
อาการ / ตรวจพบ
รอยช้ำและเป็นก้อน
• การดูแลรักษาพยาบาล ไม่ต้องการการรักษา มกัจะหายไปเอง
4 Molding
หมายถึง การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากทารกมีการปรับขนาดของศีรษะ เพื่อให้สามารถผ่านช่องคลอดของมารดาได้
อาการ
ทารกที่เกิดท่าศีรษะเป็นส่วนนำ ทำให้ศีรษะมีรูปร่างยาว
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่ต้องการการรักษาพยาบาล
ภาวะนี้จะหายได้เองภายใน 2-7วนัหลงัคลอด
6 จ้ำเลือดใต้ผิวหนัง(Ecchymosis
สาเหตุ
จากการคลอดโดย Vacuum
Forceps extraction
อาการ / ตรวจพบ
1.จ้ำเลือดใต้ผิวหนัง ที่หนังศีรษะ
2.หากคลอดทางช่องคลอด เรียกว่า Hemorrhagic caput succedaneum
3.อาจพบร่วมกับตุ่มพอง (Bleb) หรือ แผลถลอก (Abrasion)
กระดูกหัก (Skeletal injuries)
ที่พบได้บ่อย คือ
1.กระดูกไหปลาร้าหัก
2.กระดูกต้นแขนหัก
3.กระดูกต้นขาหัก
4.กระดูกกะโหลกศีรษะแตก
หลักการดูแลคือ พยายามไม่เคลื่อนไหวบริเวณที่หัก
อาการและอาการแสดง
1.ทารกไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
2.รู้สึกกรอบแกรบเมื่อคลำ
3.แขน 2 ข้าง เคลื่อนไหวไม่เท่ากัน เมื่อทดสอบ Moro reflex ทารกยกแขนข้างที่ดีเท่าน้ัน
4.ทารกจะร้องไห้เมื่อถูกบริเวณที่กระดูกหัก
5.พบอาการบวม ห้อเลือด ตรงที่ได้รับบาดเจ็บ
การดูแลรักษาพยาบาล
1.จัดให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว โดยกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อ ให้ข้อศอกงอ 90 องศา ชิดลำ ตัว
2.ให้ทารกนอนเฉยๆ
3.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง เช่น V/S
นางสาว ณัฏฐนันท์ เดชโชตินิโรจน์
รหัสประจำ 570367
อาจารย์ อัจฉรา