Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด1 (มดลูกเข้าอู่ช้า…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด1
การบวมเลือดของแผลฝีเย็บHematoma
สาเหตุ
เย็บแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการซ่อมแซม
การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
การาคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดฉีกขาด
ชนิด
Suparlevator ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน พบน้อยมากแต่รุนแรง
Infralevator ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
อาการ
พบก้อนบวม โป่งตึงที่แผลฝีเย็บ
ปัสสาวะไม่ได้
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ
ปวดถ่วงคล้ายกับจะอุจจาระตลอด
การรักษา
หากก้อนมีขนาดเล็กไม่เกิน 5ซม.ให้ประคบน้ำแข็ง
ก้อนขนาดใหญ่ส่วนใหญ่แก้ไขในห้องผ่าตัด
ประเมินแผลฝีเย็บ โดยใช้ REEDA
ยาปฏิชีวนะ
ได้รับสารน้ำทดเเทน
ทำแผล
ประเมินสัญญาณชีพและความเจ็บปวด
แนะนำการปฏิบัติตัว
มดลูกเข้าอู่ช้า Subinvolution of Uterus
ความหมาย
ภาวะที่มดลูกใช้เวลาคืนสู่ภาวะปกติภายหลังคลอดมากกว่า 6 สัปดาห์
สาเหตุ
รอยแผลผ่าตัดจากการผ่าคลอด
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก
มีเศษรกค้างในมดลูก
ภาวะที่ทำให้มดลูกมีการยืดขยายมาก
การติดเชื้อที่โพรงมดลูก
คลอดยาวนาน
ตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้ง
มีปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ
มดลูดคว่ำ
อาการ
น้ำคาวปลาออกนานและมาก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลแก้ไขตามสาเหตุที่พบ
ประเมินระดับยอดมดลูกวันละ 1ครั้ง
ให้ความรู้มารดาถึงความผิดปกติ
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดา
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ผลกระทบ
ทางตรง
มดลูกคืนสู่ปกติช้า
ทางอ้อม
ติดเชื้อหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด Puerperal infection
สาเหตุ
เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อโรคจากช่องคลอดหรืออวัยวะสืบพันธ์ภายนอกเข้าสู่บาดแผล
ปัจจัยเสี่ยงภาวะติดเชื้อ
การผ่าคลอด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
PV
ติดเชื้ออยู่ก่อน
ภาวะซีด
GDM,อ้วน,ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการ
ปวดท้องน้อย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ไข้
น้ำคาวปลาไหลนาน
เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
การรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินการหดรัดตัวและระดับของมดลูก
การพักผ่อนและได้รับสารน้ำและอาหารที่เพียงพอ
เช็ดตัวเพื่อลดไข้
ยาปฏิชีวนะ
การทำแผล
การพยาบาลหลัก Aseptic Technigue
ยาบรรเทาอาการปวด
แนะนำการปฏิบัติตัว
เต้านมอักเสบเป็นฝี Breast abscess
สาเหตุ
จากการที่มีน้ำนมเก่าคั่งค้างในเต้านมโดยไม่ได้ระบายน้ำนมออกเท่าที่ควร
ปัจจัยเสี่ยงเต้านมอักเสบเป็นฝี
ลูกดูโน้ำนมออกไม่เกลี้ยงเต้า
ดูดจำนวนครั้งลดลง
ให้นมลูกไม่ถูกวิธี
ท่อน้ำนมอุดตัน
หัวนมแห้ง แตก มีเชื้อโรคเข้าไป
อาการ
ข้างที่เป็นน้ำนมไม่ไหล
เต้านมสีแดงคล้ำ ปวดถ่วง
เจ็บที่เต้านมคลำได้ก้อน
ไข้,ไม่สบายตัว
การรักษา
น้ำนมมีสีเปลี่ยนไปให้งดในระยะแรก
ในกรณีที่งดต้องใช้เครื่องปั้มนมให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง
การเจาะหรือใส่หลอดสวน
กระตุ้นให้มารดาดื่มน้ำมากๆ
ยาบรรเทาอาการเจ็บปวด
ให้ยาปฏิชีวนะ
สวมยกทรงที่มีขนาดพอดี
หลังจากลูกดูดหรือหลังบีบให้ใช้ความเย็นประคบ
แนะนำทำความสะอาดร่างกาย
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
อาการ
รู้สึกเศร้า
อยากร้องไห้
นอนไม่หลับ
ปวดศีรษะ
การบำบัด
ให้ข้อมูล
ให้ความมั่นใจ และกำลังใจ
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สาเหตุ
มารดาอายุน้อย
สูญเสียความเป็นส่วนตัว
สูญเสียคุณค่าในตัวเอง
ประวัติซึมเศร้ามาก่อน
อาการ
ฉุนเฉียว, วิตกกังวล
ปัญหาการนอน
การเปลี่ยนรสนิยมในการรับประทานอาหาร
มีความคิดฆ่าตัวตาย
การรักษา
ประเมินอาการเบื้องต้นทันที
ปรึกษาจิตแพทย์
บำบัดด้วยยา,สร้างความเข้าใจ
กลุ่มอาการชีแฮน Sheehan Syndrome
สาเหตุ
ปริมาณเลือดที่เสียมากจนเกิดภาวะช็อก
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีตกเลือดก่อนคลอด
สตรีที่มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติทั่วร่างกาย
อาการ
การทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติ
การไม่ผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
ฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
อ่อนเพลียน เหนื่อยล้า เบื่ออาหาร
การรักษา
เสริมไทรอยด์ฮอร์โมน
ให้ฮอร์โมนเพศหญิง
ป้องกันการตกเลือด
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน Thrombophlebitis
ประเภท
อยู่ลึก
ปอด
ระดับตื้น
สาเหตุ
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดำ
เลือดแข็งตัวได้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของเลือดดำ
อาการ
กรณีเกิดที่ปอด
ไอถี่ๆหรือเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
หายใจลำบาก
ภาวะช็อก
กรณีเกิดที่ขา
คลำได้เส้นเลือดแข็ง
สีผิวเปลี่ยน
ปวดเวลาเดิน
ปวดที่น่องเมื่อกระดกปลายท้าขึ้น
เท้าและขาบวมใหญ่
การรักษา
กระตุ้นการเคลื่อนไหว
ให้ความรู้
ให้ยา
ได้รับสารน้ำ
แนะนำยกขาสูง กระตุ้นบริหารเท้า