Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกดิที่มีภาวะแทรกซ้อน การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)…
การพยาบาลทารกแรกเกดิที่มีภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
1.Caput succedaneum
คือ ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะ ในชั้นของหนังศีรษะ
หมายถึง การบวมน้ำของเนื้อเยื่ออ่อนของหนังศีรษะ
• มีขอบเขตไม่ชัดเจน
• อาจข้ามรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะได้
สาเหตุ
การเกิดบวมน้ำบริเวณใต้ช้ันผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
เกิดจากศีรษะของทารกถูกกดขณะคลอด
อาการแสดง
1.พบได้ทันทีแรกเกิด โดยคลำพบก้อนบวมได้บริเวณ occipito parietal region
2.รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
3.คลำขอบเขตได้ไม่ชัดเจน
4.ก้อนจะค่อยๆเล็กลง และหายไปภายใน 36 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
5.ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
การดูแลรักษาพยาบาล
1.
ไม่ต้องการการรักษา ก้อนจะหายไปเอง 2-3วันหรือจนถึง
3-4สัปดาห์ แล้วแต่ขนาดของก้อน
2.
สังเกตลกัษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ของ caput
3.
สังเกตอาการเปลยี่นแปลงทางระบบประสาทของทารก
4.
ถ้ามีรอยแดงช้ำ(ecchymosed)มากอาจต้องส่องไฟ เพื่อ
รักษาภาวะตัวเหลืองให้ทารก
5.
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
2 Cephal hematoma
สาเหตุ
1.ในเด็กแรกเกิดที่บาดเจ็บจากหัวเด็กผ่านทางคลอด
2.จากการใช้เครื่องช่วยทำคลอด
มีการฉีกขาดของหลอดเลือดและตกเลือด พบบ่อยบริเวณ Parietal และมักเป็นข้างใดขา้งหน่ึง
อาการแสดง
1.พบก้อนนูนหลัง 24ชั่วโมงไปแล้ว
2.คลำพบก้อนนูนอยู่บน
3.กะโหลกศีรษะ
เมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยบุ๋มหลังปล่อยนิ้วจะโป่งตึงเช่นเดิม
4.ทารกอาจซีด เพราะเสียเลือดมาก
การพยาบาล
1.
สังเกตลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
2.
ให้ทารกนอนตะแคงตรงข้ามกับก้อนโน
3.
สังเกตอาการซีด
4.
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น และไม่ให้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออก
การดูแลรักษา
หายไปได้เองในระยะเวลา 2-3 สัปดาห์หรือบางรายภายใน 2เดือน
ถ้าเลือดออกมากในบางรายอาจทา ให้ ทารกซีด ตวัเหลือง และช็อกได้
3.Subaponeurotic hemorrhage (Subgaleal hemorrhage; SGH)
คือ ก้อนเลือดที่ศีรษะ เป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อ ที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกศีรษะ (Galea aponeurotic) กับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (Periosteum)
-ซึ่งมีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตา (Orbital ridge) ไปยังท้ายทอย และด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
อาการ
1.
รอยบวมข้ามรอยต่อส่วนกลางศีรษะ
2.
มีลักษณะนุ่ม
3.
การบวมปรากฏหลังเกิดหลายชั่วโมง
4.
เลือดอาจเซาะทั่วศีรษะถึงหน้าผาก ขมับด้านข้างและท้ายทอย
การดูแลรักษาพยาบาล
1.ไม่มีการรักษาเฉพาะ
2.หากเลือดออกมากอาจทำให้เกิดภาวะช็อก
หรือซีด
Rx. 1) ต้องให้การถ่ายเลือดและการฉายแสง เพื่อรักษาอาการตวัเหลือง 2) ให้ยาต้านจุลชีพ
3.หากหนังศีรษะมีบาดแผล ทำให้เกิดการติดเชื้อ
ทารกจะมีอาการ
เช่น มีไข้ ซึม ดูดนมไม่ดี เป็นต้น Rx. 1) ต้องให้การรักษาด้วยการระบายออก 2) ให้ยาต้านจุลชีพ
อาจารย์ พัชรินทร์
นางสาว ณัฏฐนันท์ เดชโชตินิโรจน์
รหัสประจำ 570367