Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด (เต้านมอักเสบเป็นฝี…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
การบวมเลือดของแผลฝีเย็บ
ชนิดของHematoma
ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
พบที่บริเวณอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ฝีเย็บ
ปากช่องคลอด
มีลักษณะบวมเลือดให้เห็นทางช่องคลอด
ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ไม่มีลักษณะบวมเลือดให้เห็นทางช่องทางคลอด
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
รักษาโดยผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อผูกเส้นเลือด
สาเหตุHematoma
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
คลอดเองโดยไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ
การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการผูกซ่อมแซมก่อนที่จะเย็บแผลที่ฝีเย็บ
บีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคั่งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ใต้เยื่อบุช่องท้องและใน Broad ligament
การเย็บซ่อมเเซมแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
อาการและอาการแสดง
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บและช่องคลอดอย่างรุนแรง
ตรวจพบก้อนบวม โป่งเเข็งที่แผลฝีเย็บ มีสีม่วงคล้ำ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้เพราะบวมปิดท่อปัสสาวะไว้ และปวดจนไม่กล้าปัสสาวะ
การรักษาพยาบาล
ประเมินแผลฝีเย็บตามแนวทางREEDA:Evaluating Postpartum Healing
R = Redness อาการแดงของแผล
E = Edema อาการบวมของแผล
E = Ecchymosis อาการคั่งของเลือด
D = Discharge สารคัดหลั่งจากแผล
A = Approximation ลักษณะการติดของเเผล
หากก้อนมีขนาดเล้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 5 cm.
ประคบเย็นลดปวด
ประเมินเป็นระยะ
หากก้อนมีขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้นดำเนินการแก้ไขในห้องผ่าตัด
นำก้อนเลือดที่คั่งค้างออก
ซ่อมเเซมแผลฝีเย็บใหม่
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 และ4 ชั่วโมง
ประเมินระดับความเจ็บปวดและได้รับยาบรรเทาความปวด
ทำแผล อบแผล แช่ก้น
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
การทำความสะอาดอวัยวะเพศ
การเปลี่ยนผ้าอนามัย
มดลูกเข้าอู่ช้า
ภาวะที่มดลูกใช้เวลาคืนสู่ภาวะปกติภายหลังคลอดมากกว่า 6 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหตุ
มีเศษรก
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก
การผ่าตัดทางหน้าท้อง
การติดเชื้อที่โพรงมดลูก
ภาวะที่มดลูกยืดขยายมาก
ระยะเวลาคลอดยาวนาน
ตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
ปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มดลูกมีขนาดใหญ่และอ่อนนุ่ม
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง
มีอาการปวดมดลูกผิดปกติเกิน 72 ชม.
น้ำคาวปลาออกนานออกปริมาณมาก หรือมีสีผิดปกติ มีไข้ร่วมด้วย
การรักษาพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน 2 ชม.แรกหลังคลอด
ดูแลแก้ไขตามสาเหตุ
ประเมินระดับยอดมดลูกวันละ 1 ครั้งในเวลาเดียวกัน
ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการผิดปกติ
ดูแลและกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม.
กระตุ้นให้ลุกจากเตียงบ่อยๆ
ผลกระทบ
ทางตรง
มารดาใช้เวลาฟื้นฟูนานขึ้น
สภาพจิตใจ
ทางอ้อม
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัดคลอดุบตร
มีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์อยู่นาน
ติดเชื้อในช่องคลอดอยู่แล้ว
ภาวะซีด
อ้วน
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดท้องน้อย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น พบได้ถึง15,000-30,000เซลล์/มล.
การรักษาพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลให้พักผ่อน
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินการหดรัดตัวและระดับของมดลูก รวมทั้งลักษณะปริมาณ สี และกลิ่นน้ำคาวปลา
กลุ่มอาการชีแฮน
สาเหตุ
ปริมาณเลือดที่เสียมาก
ช่วงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดใหม่ๆต่อมใต้สมองมีขนาดใหญ่ขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่มีภาวะตกเลือดก่อนคลอด
คลอดบุตรตัวโต
สตรีที่มีภาวะเเข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติทั่วร่างกาย
อาการและอาการแสดง
การทำงานของต่อมหมวกไตทำงานผิดปกติ
การไม่ผลิตน้ำนม
ไม่ประจำเดือนหลังคลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า
การรักษา
การให้ฮอร์โมนทดเเทนในรายที่ฮอร์โมนต่ำ
การป้องกันระยะ 24 ชม.
การหดรัดตัวของมดลูก
ปริมาณน้ำคาวปลา
ลักษณะแผลฝีเย็บ
การป้องกันการตกเลือกหลังลอด
เต้านมอักเสบเป็นฝี
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีน้ำนมคั้งค้างในเต้านม
ท่อนมอุดตัน
ปัจจัยเสี่ยง
ลูกดูดนมออกไม่เกลี้ยงเต้า
ลูกดูดนมจำนวนลดลง
แม่ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี
ท่อน้ำนมอุดตัน
หัวนมแห้ง แตก
มีเชื้อโรคเข้าไปในเต้านม
อาการและอาการแสดง
เจ็บที่เต้านมคลำพบก้อนในกลีบถุงนม
เต้านมมีสีแดงคล้ำ
ไข้ 38-40องศา
เต้านมข้างที่เป็นฝีน้ำนมไม่ไหล
น้ำนมมีสีเขียวปนเหลืองคล้ายหนอง
ไม่สบายตัว คลื่นไส้อาเจียน
การรักษาพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ยาบรรเทาปวด
การเจาะหรือใส่หลอดสวน เพื่อระบายหนอง
งดดูดเต้านมข้างที่เป็น แนะนำให้บีบน้ำนมออกจนเกลี้ยงเต้า
กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ ร่วมกับการดื่มนมต่างๆอย่างน้อยวันละ 3000 มล.
แนะนำให้ใส่ยกทรงที่มีขาดพอดี
หลังดูดหรือบีบให้ใช้ความเย็นประคบ
ตรวจวัดสัญญาชีพทุก 4 ชม.
แนะนำให้ทำความสะอาดร่างกาย เล็บ อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2ครั้ง
ผลกระทบ
เจ็บปวดจากภาวะเป็นฝี
หากลุกลามเสี่ยงต่อการตัดเต้านม
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระเเสเลือด
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน
ประเภท
การอุดตันอักเสบของหลอดเลือดที่อยู่ลึก
การอุดตันอักเสบของหลอดเลือดระดับตื้น
การอุดตันอักเสบของหลอดเลือดที่ปอด
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของหลอดเลือดดำ
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดำ
เลือดเเข็งตัวได้ง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะอ้วน
ประวัติสูบบุหรี่
คลอดหลายครั้ง
ครรภ์แฝด
มีประวัติเป็นก่อนตั้งครรภ์
กรรมพันธุ์
อาการและอาการแสดง
เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
มีการเปลี่ยนสีที่ผิวหนัง
ปวดที่น่องเมื่อกระดกเท้าขึ้น
หายใจลำบาก
ไอถี่ หัวใจเต้นเร็ว
การรักษา
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และการดูแลตนเอง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ สารอาหารอย่างเพียงพอ
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจ
กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อเท้า
สอนการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
ลดการอยู่นิ่งของหลอดเลือดดำ
ประเมินความปวด
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
อาการและอาการเเสดง
นอนไม่หลับ
รู้สึกเศร้า
อยากร้องไห้
อ่อนเพลีย
การบำบัดรักษา
ให้ความมั่นใจ
ให้กำลังใจ
ให้ข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก
ดูแลให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สาเหตุ
สูญเสียคุณค่าในตนเอง
มารดาอายุยังน้อย
ประวัติซึมเศร้าก่อนตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ฉุนเฉียวง่าย
วิตกกังวล
มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย
การรักษาพยาบาล
คอยรับฟังปัญหาต่างๆ
บำบัดด้วยยา
สร้างความเข้าใจของภาวะป่วยแก่สามีและญาติ