Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (องค์ประกอบ (หน่วยรับเข้า (ทำหน้าที่รับข้อมูล…
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ลักษณะการใช้งาน
สำหรับผู้ใช้งานเอกสารสิ่งพิมพ์
จอภาพ
เคส
เมาส์
แผงแป้นอักขระ
สแกนเนอร์
เครื่องพิมพ์
สำหรับผู้ทำงานด้านมัลติมีเดีย
จอภาพ
เคส
เมาส์
สแกนเนอร์
แผงแป้นอักขระ
ลำโพง
ไมโครโฟน
กล้องดิจิตัล
องค์ประกอบ
หน่วยรับเข้า
ทำหน้าที่รับข้อมูล โปรแกรม และคำสั่งต่างๆเข้าสู่ระบบ
หน่วยประมวลผลข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน
และ หน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์และ เปรียบเทียบค่าทาง ตรรกะศาสตร์
หน่วยความจำหลัก
ทำหน้าที่บันทึกโปรแกรมและข้อมูลที่จำเป็นต่อการทำงาน มี 3 ประเภท คือ แรม รอม และ ซีมอส
หน่วยความจำสำรอง
ทำหน้าที่จัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลเมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าหรือปิดคอมพิวเตอร์
หน่วยส่งออก
ทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปยังผู้ใช้
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
เครื่องพิมพ์
ทำหน้าที่ในหน่วยส่งออกในรูปแบบสิ่งพิมพ์
โดยสามารถน้ำเสนอข้อมูลในรูปแบบของ ตัวอักษร สัญลักษณ์
รูปภาพ กราฟ และต่างๆ
สแกนเนอร์
ทำหน้าที่ในหน่วยรับเข้าโดยข้อมูลจะมีลักษณะเป็นไฟล์ภาพ
Optical Reader แบบบาร์โค้ด ใช้สำหรับเปลี่ยนรหัสแท่งเป็นข้อมูลต่างๆ
Optical Scanner ใช้แบบประเภทรูปภาพ
โทรศัพท์เคลื่อนที่
เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน สามารถถ่ายภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต และเรียกใช้ซอฟแวร์ต่างๆ คล้ายคลึงคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายรับและส่งสัญญาณ
เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่นิยมใช้ในการเชื่อมต่อเพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์แทบทุกประเภทกับคอมพิวเตอร์ แต่ถ้านำมาเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์มากกว่า 1 เครื่อง จะเรียกว่า สายแลน มีลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป น้ำหนักเบา
ฮับ
เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆกับคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์ กับคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบดาว นิยมใช้ติดตั้งในเครือข่ายแบบแลนที่มีจำนวนคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายไม่มากนัก
เอดีเอสแอล ADSL
เป็นการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงรูปแบบใหม่ที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกลได้ด้วยความเร็วสูง
ซึ่งความเร็วในการรับข้อมูลเข้าประมาณ 8 Mbps และการส่งข้อมูลประมาณ 1 Mbps
อุปกรณ์จัดเส้นทาง
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อน ทำหน้าที่ ทวน แยกประเภท แปลง และจัดการกับสัญญาณข้อมูลในเครือข่าย ให้เชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
บริดจ์ (Bridge)
ทำหน้าที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย
ที่ไม่มีความซับซ้อนมากนัก
เราเตอร์ (Router)
เหมาะสำหรับเชื่อมต่อระหว่าง
เครื่องข่าย 2 เครือข่ายที่มีขนาดมาตรฐานต่างกัน
เกตเวย์ (Gateway)
เหมาะสำหรับเชื่อต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หลายๆเครือข่าย ที่มีความซับซ้อนมากๆ