Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia and Neonatal Resucitation (การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย…
Birth Asphyxia and Neonatal Resucitation
ภาวะขาด Oxygen ประกอบด้วย
Pa O2 ต่ำ
Pa CO2 สูง CO2 สูง
Metabolic acidosis
RR ต่ำ
HR ต่ำ
Newborn Asphyxia
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด (Antepartum)
อายุครรภ์ < 35 wks.หรือ >41wks.
ความดันโลหิตสูง
ครรภ์เเฝด
Oligohadramnios / Polyhydramnios
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด (Intrapartum)
ใช้ Forceps/vacuum/ผ่าตัดคลอด
ท่าผิดปกติ / shoulder dystocis
Meconium stained
สายสะดือย้อย (prolapsed cord)
ภาวะขาดออกซิเจนในทารกเเรกเกิด
severe birth asphyxia APGAR 0-3 คะเเนน
White asphyxia
1.เช็ดตัวให้เเห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุ่น
2.ดูดเสมหะ
3.ช่วยหายใจด้วยเเรงดันบวก(PPV)
4.ไม่ดีขึ้นให้ใส่ท่อหลอดลมคอ (ET tube)
5.ถ้า HR<60 ทำ Chest compressions เเบบTwo thumb ร่วมกับ ETT
6.หลัง chest compression ถ้า HR <60 ให้ยา Epinephrine/Adrenarine
จะให้ที่สายสะดือเป็นอันดับเเรก ถ้าหาเส้นเลือดที่สายสะดือไม่ได้ให้ยาที่ท่อหลอดลมคอ
ครั้งเเรกถ้าหยดเข้าที่ ET Tube เเล้วห้ามหยดซ้ำที่เดิมให้ใส่ที่สายสะดือ
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์เเละขณะคลอด
ขั้นปฐมภูมิ
ถูหลัง
ดีดฝ่าเท้า
ทุติยภูมิ
ช่วยเหลือ7ขั้นตอน
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
Not vigorous ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอดก่อนให้การช่วยเหลือ
Vigorous ดูดขี้เทาเเละสารคัดหลั่งจากปากเเละจมูกเเละช่วยเหลือตามขั้นตอน
การกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย
ตบบริเวณรหลังหรือก้น
กดเค้นบริเวณซี่โครง
ยกหน้าขาขึ้นมาบริเวณหน้าท้อง
การขยายหูรูดทวารหนัก
ใช้ถุงน้ำร้อนหรือเย็นประคบผม
เขย่าตัวทารก