Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm or Premature labour (การรักษา (1.Bed rest ในท่านอนตะแคง…
Preterm or Premature labour
ความหมาย
การเจ็บครรภ์และการคลอด ระหว่างอายุครรภ์ 28 -37 สัปดาห์ น้ำหนักกับทารกแรกคลอด 1,000 - 2,500 กรัมพบร้อยละ 10 ของการคลอดมดลูกหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 8 ครั้งต่อชั่วโมง CX DILATE > 1CM EFFACEMENT >80%
การรักษา
1.Bed rest ในท่านอนตะแคง ช่วยลดแรงกดดันต่อปากมดลูกไม่ให้เปิดขยายเพิ่มขึ้น และเพิ่ม Blood flow
การนอนพักอย่างเดียวทำให้การเจ็บครรภ์ หายไปได้ ร้อยละ 20-48
2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก เมื่อจำเป็น
ไม่ควรกระตุ้นหรือตรวจบ่อยครั้ง
3.ตรวจดู Uterine contraction
5.ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์
Bricanyl Ventolin
4.ฟัง FHS อย่างสม่าเสมอ ทั้ง D I S
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
Fetal distress ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ภาวะที่ทารกในครรภ์อยู่ในอันตราย ทำให้เกดิภาวะทารกตายในครรภ์ การตายหรือทุพพลภาพของทารกปริกำเนิด
Intrapartum fetal distress ภาวะ Fetal distress ในระหว่างการคลอด
ภาวะทารกขาดออกซิเจน และเกิดภาวะเลือดเป็นกรดในระหว่างการคลอด
สาเหตุ
1.เรื้อรัง
กิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด แต่ยังไม่มีอาการแสดง จนกระทงั่มภีาวะเครียดจากการคลอด จึงมอีาการแสดงเกดิขนึ้ในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด เช่น HT , DM
2.เฉียบพลัน
มีอาการเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด เช่น Prolapse cord , Abruptio placenta , Hypertonic contraction(Oxytocin)
การวินิจฉัยและการดูแลรักษา
1.ภาวะ Meconium stained ในน้ำคร่ำ
2.ความผิดปกติจาก Electronic fetal monitoring
ภาวะ Acidosis(จากFetal scalp blood sampling)
การวินิจฉัย
Antepartum fetal distress
2.การฟังเสียงหัวใจทารก
1.การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารกในครรภ์
3.การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หรือการเพิ่มขนาดของมดลูกที่ช้ากว่าปกติ
4.การปรากฎภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำบ่งบอกถึงภาวะ Fetal distress Anal sphincter หย่อนตัว ทารกในครรภ์ถ่าย Meconium ออกมา Stain ในน้ำคร่ำ
5.การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
•Ultrasound
•Biophysical profile
6.การเจาะเลือดจากสายสะดือทารกในครรภ์
Intrapartum fetal distress
ภาวะทารกขาดออกซิเจน และเกิดภาวะเลือดเป็นกรดในระหว่างการคลอด สาเหตุ
เรื่อรัง เกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด แต่ยังไม่มีอาการแสดง จนกระทั่งมีภาวะเครียดจากการคลอด จึงมีอาการแสดงเกิดขึ้นในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด
เฉียบพลัน เช่น Prolapse cord , Abruptio placenta , Hypertonic contraction(Oxytocin)
ชนิดของการเต้นหัวใจทารก
1.1.Normal variability(Short-term,Long-term variability)
1.2.Bradycardia
1.3.Tachycardia
1.4.Baseline
1.5.Sinusoidal pattern
การป้องกัน ภาวะ Fetal distress
1.ให้นอนตะแคง
2.Oxytocin infusion pump ป้องกัน Hyperstimulation
3.Intravenous fluid ก่อน....ประมาณ 1,000 ml …ก่อนให้Regional anesthesia (เพราะกดSympathetic nerve)
การรักษา ภาวะ Fetal distress
ประเมินภาวะ Prolapse cord
2.หยุดให้Oxytocin ทันที
3.นอนตะแคง
4.ออกซิเจน 8-10 LPM
5.Tocolytic agent ……. Magnesium sulfate
6.Free flow IV fluid แก้ไข Hypotension
9.กระตุ้นหนังศีรษะทารก (Fetal scalp stimulation)... หรือด้วยเสียง (Acoutic stimulation)
8.Amnioinfusion ฉีดน้ำเกลือเข้าในโพรงมดลูก ในราย Variable deceleration 150-200 ml/hr เมื่อดีขึ้นลดเหลือ 10-20 ml/hr
10.ตรวจ จากเลือดบริเวณหนังศีรษะทารก (Fetal scalp blood samling)
7.หาสาเหตุและรักษาภาวะ Hypotension
การวินิจฉัย
พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาที Duration > 30 วินาทีมีการบางและเปิดขยายของปากมดลูก
การดูแลรักษา
การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
1.Bed rest ในท่านอนตะแคง ช่วยลด แรงกดดันต่อปากมดลูกไม่ให้เปิดขยาย เพิ่มขึ้น และเพิ่ม Blood flow การนอนพักอย่างเดียวทำให้การเจ็บครรภ์ หายไปได้ ร้อยละ 20-48
2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยาย ของปากมดลูก เมื่อเป็น ไม่ควรกระตุ้นหรือตรวจบ่อยครั้ง
3.ตรวจดู Uterine contraction ท้ัง D I S
4.ฟัง FHS อย่างสม่ำเสมอ
5.ให้ยายับย้้งการเจ็บครรภ์
อื่นๆ……พิจารณาเป็นรายๆ *U/S…ประเมนิ GA , Fetal weight และความพกิาร ของทารกในครรภ์ เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา
การดแูลในระยะเจ็บครรภ์ และระยะคลอด
1.ตรวจดู Uterine contraction ทั้ง
D I S
2.ตรวจ FHS บ่อยๆ ( อาจติด Fetal heart rate Monitoring)
3.ระวงัการใช้ยาแก้ปวดและนอนหลับในขณะเจ็บครรภ์เพราะกดการหายใจของทารก
4.ลดความกระทบกระเทือนในระยะคลอด โดย Big Episiotimy
ผลกระทบ
ทารกเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
ค่าใช้จ่ายสูง ครอบครัวไม่สามารถรับภาระได้
รัฐบาลสูญเสียงบประมาณ