Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
EARLY POSTPARTUM HEMORRHAGE (Uterine atony : Tone (Prolong labour /…
EARLY POSTPARTUM HEMORRHAGE
การตกเลือดในระยะที่ 3-4 ของการคลอดและ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดเสียเลือดมากกว่า 500 มิลลิลิตรขึ้นไปและ1000 มล
สาเหตุส่งเสริม
มดลูกไม่หดรัดตัวพบร้อยละ 90
ช่องทางคลอดฉีกขาดพบรองจากมดลูกไม่หดรัดตัว
เลือดออกจากตำแหน่งรกเกาะ
รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
Uterine atony : Tone
Prolong labour / Precipitate labour
Distened uterus: Twins / Polyhydramnios / Macrosomia
สูติศาสตร์หัตถการ: Internal version / F / E
การให้ยาสลบ: Ether / Halothane
Multiparity / History of PPH
Scar: C / S Hysterotomy Myomectomy
Moma uteri ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ติดเชื้อภายในโพรงมดลูก / เยื่อหุ้มทารกติดเชื้อ
Abruptio placenta และมี Couvelaire uterus
Uterine inertia ในระยะคลอดไม่ทราบสาเหตุ
Induction of labourการกระตุ้นให้มีการเจ็บครรภ์
Bladder full ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดีในระยะหลังคลอด
•ไม่ทราบสาเหตุ
* Idiopathic atony
ช่องทางคลอดฉีกขาด : Tear
-มักสัมพันธ์กับ Precipitate labour F / E Breech extraction / หัตถการทำลายเด็ก
-การทำ episiotomy Lt mediolateral / Rt ediolateral perineorrhaphy ที่ไม่ถูกวิธี
ตำแหน่งของการฉีกขาด
แผลผ่าตัดฝีเย็บ
ฝีเย็บ / ส่วนบนของปากช่องคลอดเช่น Clitoris และช่องคลอด
ปากมดลูก
การแตกของมดลูก Hematoma บริเวณ Ischial spine หรือในแผลฝีเย็บภายหลังที่เย็บซ่อมแซมแล้ว
Placental bed bleeding
สาเหตุชวนให้เกิด
รกเกาะตำ... มีกล้ามเนื้อน้อยทำให้เลือดหยุดไม่ดี
รกมีขนาดใหญ่ (Placenta membanaceas) พบในรายที่เป็น Syphilis
รกติดค้าง (Placenta adherents)
มดลูกปลิ้น (Inversion of uterus)
รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก : Tissue
4.1 รกลอกตัวแล้วแต่ยังค้างในโพรงมดลูก (Retained of placenta)
ลอกตัวแล้วสมบูรณ์แต่เกิดภาวะ Constriction ring หรือ Cervical cramp
ลอกตัวเพียงบางส่วน Placenta accreta
4.2 เศษรกค้างในโพรงมดลูก (Retained pieces of placenta)
มักเกิดจาก
ช่วยคลอดรกไม่ถูกวิธี
รกใหญ่และติด
รกน้อย (Placenta succenturiata, placenta spurium)
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด : Thrombin
5.1DIC จากภาวะ
-Abruptio placenta,
-DFIU,
-Missed abortion,
-Septic shock,
-PIH (HELLP),
-Amniotic fluid embolism
5.2โรคเลือดต่างๆ
-ITP,
-Leukemia,
-Aplastic anemia
5.3การได้รับยาการด้านการแข็งตัวของเลือด
-Heparin
การวินิจฉัย
ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด > 500 cc
อาการและอาการแสดง
-ซีด
-เหงื่อออก
-ตัวเย็น
-BP drop
-PR เบาเร็ว
-RR เร็ว
คลำทางหน้าท้องพบมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตรวจดูการฉีกขาดหรือหายไปของรกตรวจรกที่คลอดออกมาแล้วหรือใช้มือตรวจดูภายในโพรงมดลูก
ตรวจเลือดเพื่อหาความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
การป้องกัน
ระยะก่อนคลอด
1.1ซักประวัติเพื่อหาความเสี่ยงของ PPH
1.2 ตรวจร่างกายประเมินภาวะซีด, รวมทั้งแก้ไขและให้ยาเพิ่มธาตุเหล็กทุกราย , รับประทานหรือยาฉีด
Blood transfusion
ระยะคลอดและหลังคลอด
2.1 ในรายที่มีความเสี่ยงสูง IV Fluid / พร้อมจองเลือด 2. 2. ระวัง Prolong labour หรือการได้รับยา Sedation มากเกินไป
2.3 ทำคลอดในระยะที่ 2 และ 3 อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.4 หลีกเลี่ยงการทำหัตถการอย่างยากหรือเพิ่มความเสี่ยงอื่นๆ
2.5 ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
2.6ใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างเหมาะสม
2.7ในราย Induction of labour ควรให้Oxytocinต่อภายหลังคลอดอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
2.8หลีกเลี่ยงการใช้ยาสลบประเภท Ether, Halothane หรือถ้าจำเป็นต้องใช้... ควรใช้อย่างระมัดระวัง
การรักษา
รักษาตามอาการ Acute blood loss
2.รักษาเพื่อห้ามเลือดรักษาที่สาเหตุ
-การรักษาทั้ง 2 ประเภทนี้ต้องทำไปพร้อมๆกัน
ภาวะแทรกซ้อน PPH
ระยะแรก
Renal failureเนื่องจากภาวะ Hypovolemia ที่ยาวนาน * ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือด... ปอดบวมน้ำ / Blood group incompatibility
ระยะหลัง
ติดเชื้อ... AIDS / Syphilis / Hepatitis B
Diabetes insipidus
Sheehan 'syndrome... เนื่องจากการตายของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Nursing diagnosis: PPH
อาจเกิดภาวะ Hypovolemic shock เนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
เสียสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์เนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
3.เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี / หนทางคลอดฉีกขาดมีเศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้างในโพรงมดลูก! มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
4.ซีด/อ่อนเพลีย/ติดเชื้อง่ายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลงเนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
4T : EARLY PPH
1) TONE: Uterine atony
2) TEAR / TRAUMA : Birth canal injury
3) TISSUE : Retained placenta
4) THROMBIN : Coagulopathy