Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Shoulder dystocia (การช่วยคลอดไหล่ยาก,…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
Shoulder dystocia
สาเหตุเกิดจากไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูก เชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป
ปัจจัยเสี่ยง…
1.องค์ประกอบก่อนการคลอด
2.องค์ประกอบในการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
1.ต่อทารกแรกเกิด
1.1. ขาดออกซิเจนขณะคลอด
1.2. บาดเจ็บขณะคลอดกระดูกต้นแขนหรือกระดูกไหปลาร้าหักบาดเจ็บต่อเส้นประสาท Brachial plexus ทำให้เกิด Erb , s palsy
1.3. มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก ทาให้มีสติปัญญาบกพร่อง
1.4. อาจตายขณะคลอด
2.ต่อมารดา
2.1.การฉีกขาดของปากมดลูก / ช่องคลอด / ฝีเย็บ
2.2. เสียเลือดมาก
การพยาบาล
1.ประเมินการคลอดไหล่ยาก
2..ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก
2.1.ตัดฝีเย็บใหกว้างพอ
2.2.ให้ผู้ช่วยกดเหนือหัวหน่าว Suprapubic pressure ในขณะที่ผู้ท่าคลอดดึงศีรษะทารกลงขา้งล่าง
2.3.ใช้วิธี McRobert maneuver โดยให้ผู้คลอดใช้มือจับบริเวณใต้ข้อพับเข่าแล้วดึงเข้ามาให้ชิดหน้าทท้องให้ มากที่สุด พรอ้มกับออกแรงเบ่งขณะที่มดลูกหดรัดตัว แล้วผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกลงข้างล่าง ไหล่หน้าจะคลอดออกมาเอง
การช่วยคลอดไหล่ยาก
1.McRobert maneuver
2.Suprapubic pressur การกดหัวหน่าว
3.All fours maneuver
4.Wood corkscrew maneuver
.5.Zavanelli maneuver
การช่วยคลอดผ่าตัดทางหน้าท้อง
Rupture Vasa previa
ความหมาย
ภาวะที่เส้นเลือดของสายสะดือหรือของรก ซึ่งทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารก (Fetal membrane) มีการทอดผ่าน Internal / และมีการแตกของ Fetal membrane ทำให้มีการตกเลือด มักพบในรายที่มีสายสะดือเกาะที่ Fetal membrane ซึ่งเรียกว่า Velamentous insertion
ปัจจัยส่งเสริม
Velamentous insertion มักพบร่วมกับรกเกาะต่ำ
2.รกน้อยชนิด Placenta succenturiata ร่วมกับรกเกาะต่ำ
3.ครรภแ์ฝด (เนื่องจากมกัพบรกเกาะต่ำ ) พบบ่อยกว่าครรภ์เดี่ยวถึง 9 เท่า
การวินิจฉัย
1.อาการและอาการแสดง
1.1.ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
*PV เหน็บหรือคลำ พบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับ FHS (Synchronus)
*ส่องตรวจถุงน้ำคร่ำ (Amnnioscope) เห็นเส้นเลือดทอดบน Fetal membrane
*U/S อาจเห็นเส้นเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
*FHS เปลี่ยนแปลง ในกรณีส่วนนำที่เคลื่อนต่ำลงมากดเส้นเลือด หรือในขณะ PV นิ้วมืออาจกดเส้นเลือดกับส่วนนำของทารก
1.2.หลังถุงน้ำาคร่ำแตกแล้ว
Fetal distress / มีเลือดออกทางช่องคลอด เนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดของทารกในครรภ์
2.การตรวจเลือดที่ออกทางช่อง คลอดว่าเป็นเลือดของทารก หา Fetal hemoglobin
3.Retrospective method
(การวินิจฉัยย้อนหลัง) ตรวจรกและถงุน้ำคร่ำพบมีรอย ฉีกขาดของเส้นเลือด ที่ทอดอยู่บนเยื่อหุ้ม Fetal
การรักษา
1.การเจาะถุงน้ำคร่ำต้องนึกถึงภาวะนี้เสมอ
2.ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำ แตก ให้ C/S ทุกราย
.ถ้าวินิจฉัยได้ภายหลังถุงน้ำคร่ำ แตก ต้องยุติการ ตั้ง ครรภ์ทันที
ปัจจัยเสริม
1.ทารกท่าผิดปกติท่าก้น ท่าขวาง ท่าหน้า
2.CPD
3.ทารกไม่ครบกาหนด
4.Amniotomy หรือ PROM ก่อนที่ส่วนนา