Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
.Fetal distress (Antepartum fetal distress (การวินิจฉัย ((การวัดอัตราการไห…
.Fetal distress
Antepartum fetal distress
การวินิจฉัย
1.การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารกในครรภ์
ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อวัน
หยุดดิ้น
การเจริญเติบโตของทารกหรือการเพิ่มขนาดของมดลูก
IUGR
DFIU
Oligohydramnios
Congenital malformation
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
Ultrasound
Biophysical profile
การตรวจหาฮอร์โมน Estriol, Human placental lactogen
Electronic fetal monitoring
Nonstress test
Contraction stress test
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ที่ SIZE น้อยกว่า DATE ควรพิจารณาทำ
เนื่องจากอาจเกิดภาวะ Placental insufficiency..ขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ไม่นิยมทำเนื่องจากต้องอาศัยความชำนาญ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่ายคือ
Preterm, DFIU
การวัดอัตราการไหลเวียนของเลือดด้วย เครื่อง Doppler ultrasound
เป็นการวัดปริมาณเลือดที่ไหลเวียนไปยังมดลูกและรกได้โดยตรง
กรณีที่ทารก UGR and Fetal distressจะพบว่าอัตราการไหลเวียนของเลือดใน Aorta ลดลง
ความสัมพันธ์กับควมรุนแรงของภาวะขาดออกซิเจนในเลือด ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด และภาวะเลือดเป็นกรด
2.การฟังเสียงหัวใจทารก
การฟังเละนับอัตราการเต้นของหัวใจทารกก่อนและหลังการ เคลื่อนไหวของทารก ทารกมีการตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว โดยมีการเพิ่มขึ้นของ FHS แสดงว่าทารกในครรภ์มีสุขภาพดี ไม่มีภาวะ fetal distress
ภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำ
Meconium stained amniotic fluid บ่งบอกถึงภาวะ Fetal distress Anal sphincter หย่อนตัว ทารกในครรภ์ถ่าย Meconium ออกมา Stain ในน้ำคร่ำ
Mild meconium stained
Moderate meconium stained
Thick meconium stained
Intrapartum fetal distress
สาเหตุ
เรื้อรัง
เกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะกลอด แต่ยังไม่มีอาการแสดง จนกระทั่งมีภาวะเครียดจากการคลอด จึงมีอาการแสดงเกิดขึ้นในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด เช่น HT , DM
เฉียบพลัน
มีอาการเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด เช่น Prolapse cord, Abruptio placenta, Hypertonic contraction(Oxytocin)
การรักษา ภาวะ Fetal distress
ประเมินภาวะ Prolapse cord
2.หยุดให้Oxytocin ทันที
3.นอนตะแคง
4,ออกซิเคน 8-10 LPM
5.Tocolytic agent Magnesium sulfate
6.Free flow IV fluid แก้ไข Hypotension
7.หาสาเหตุและรักษาภาวะ Hypotension
8.Amnioinfusionฉีตน้ำเกลือเข้าในโพรงมดลูก ในราย Variable deceleration 150-200 ml/hrเมื่อดีขึ้นลดเหลือ 10-20 ml/hr
9.กระตุ้นหนังศีรษะทารก (Fetal scalp stimulation)หรือด้วยเสียง (Acoutic stimulation)
10.ตรวจจากเลือดบริเวณหนังศีรษะทารก (Fetal scalp blood samling)
การป้องกัน ภาวะ Fetal distress
1.ให้นอนตะแคง
2.Oxytocin infusion pumpป้องกัน Hyperstimulation
3.Intravenous fluid ก่อน ประมาณ 1,000 mL.ก่อนให้Regional anesthesia(เพราะกดSympathetic nerve)