Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด ที่ 1และ2 (1.PROM …
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ที่ 1และ2
1.PROM (ภาวะที่ถุงนาคร้่ารั่วหรือแตกก่อนที่จะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ประวัติครรภ์ก่อนมี..PROM/Preterm
Cervical incompetence ปากมดลูกปิดไม่สนิท
มีการฉีกขาด หรือบาดเจ็บที่ปากมดลูก
การเจาะถุงนาคร้่าamniocentesis การเจาะตรวจเนื้รกCVS
ประวัติตั้งครรภ์แฝด/ครรภ์แฝดน้ำมดลกยืดขยาย ความดันภายในโพรงมดลกเพิ่มขึ้น
รกลอกตัวก่อนกำหนด/รกเกาะต่ำ
แบ่งออกเป็น2ชนิด
2.Term Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะถุงนาคร้่าแตกหรือรั่วที่อายุครรภ์37สัปดาห์ขึ้นไป
Prolonged rupture of the membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงนาคร้่านานเกิน24 ชั่วโมง ก่อนทารกคลอด
Preterm Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้ำคร่ำก่อนอายุครรภ์37สัปดาห์
การวินิจฉัย
1.ประวัติ น้าใสๆไหลออกทางช่องคลอด (ต้องแยกจาก ปัสสาวะ/มูกจากช่องคลอด/Mucus plug)เวลาที่ถุงนาแตกเพื่อประเมินการติดเชื้อ้ อายุครรภ์เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน
2.ตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1.Nitrazine paper test
3.2Fern test ได้ผลบวกพบผลึกเป็นรูปใบเฟิร์น
3.3.Ultrasound SEVERE OLIGOHYDRAMNIOS
3.4.Nile blue test
ข้อวิจนิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูกเนื่องจากมีถุงน้ำ
2.มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด
3.มีโอกาส Fetal distress เนื่องจากมีโอกาสสายสะดือโผล่
4.มีโอกาส Fetal distress เนื่องจากมีถุงน ้าคร่ำรั่ว
5.วิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารกในครรภ์
6.Respiratory Distress Syndrome /Potter syndrome
2.Preterm
(การเจ็บครรภ์และการคลอดก่อนกำหนด)
-ระหว่างอายุครรภ์ 28 -37 สัปดาห์
-น้าหนักทารกแรกคลอด1,000 - 2,500 กรัม
-พบร้อยละ 10 ของการคลอด
มดลูกหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย8 ครั้งต่อชั่วโมง
-CX DILATE > 1CM…EFFACEMENT >80%
ปัจจัยเสี่ยง
แก้ไขไม่ได้
เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่ม
แก้ไขได้
ภาวะทุพโภชนาการ BMI ต่ำ
การวินิจฉัย
พบว่ามี Uterine contractionอย่างน้อย1
ครั้งใน10 นาที Duration > 30
วินาทีมีการบางและเปิดขยายของปากมดลูก
การพยาบาล
3.ตรวจดู Uterine contraction ทั้งD I S
4.ฟัง FHS อย่างสม่ำเสมอ
2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของ
ปากมดลูกเมื่อจำเป็นไม่ควรกระตุ้นหรือตรวจบ่อย
5.ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์ Bricanyl Ventolin
1.Bed rest ในท่านอนตะแคง
6.อื่นๆ พิจารณาเป็นรายๆ
การดูแลในระยะเจ็บครรภ์
และระยะคลอด
1.ตรวจดูUterine
contraction ทั้งD I S
2.ตรวจ FHS บ่อยๆ
ถ้าพบ Fetal tachycardia
และมีน้ำเดินสงสัย Infection
ถ้าหัวใจเต้นช้าลงเป็นระยะๆ
Periodic deceleration
3.ระวังการใช้ยาแก้ปวดและนอนหลับ
ในขณะเจ็บครรภ์ เพราะกดการหายใจของทารก
4.ลดความกระทบกระเทือนในระยะคลอด โดย Big Episiotimy
5.ควรมีกุมารแพทย์เตรียมพร้อมให้การช่วยเหลือเด็ก
การป้องกันการเจ็บครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
การคัดกรองภาวะเสี่ยง
เน้นเรื่องโภชนาการ โดยเฉพาะในกลุ่มทุพโภชนาการ
ถ้าสูบบุหรี ให้สูบน้อยลงหรืองด
ให้นอนพัก โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่นครรภ์แฝด ครรภ์แฝดควรเริ่มพักตั้งแต่อายุครรภ์25สัปดาห์
การหลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
หลีกเลี่ยงการกระตุ้นหัวนม
งดการมีเพศสัมพันธุ์ ในช่วงอายุครรภ์20-36 สัปดาห์ ในกลุ่มเสี่ยง มีประวัติคลอดก่อนกำหนด> 2 ครั้ง
ข้อวิจนิจฉัยการพยาบาล
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง
เนื่องจากถูกจากจำกัดการเคลื่อนไหว
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับ
Tocolytic drug( HR เร็ว, RR เร็ว, BP ต่ำ)
วิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองและทารกในครรภ์
ทารกแรกเกิดอาจมีปัญหาด้านสุขภาพได้แก่ติดเชื้อการหายใจล้มเหลว(RDS) เนื่องจากคลอดก่อนกำหนด
3.POSTTERM
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์> 42 สัปดาห์
สาเหตุ
ทารกที่มีAnencephalyไม่มีส่วนนำมากด
กระตุ้นที่มดลูกส่วนล่าง/ปากมดลูก
การดูแลทารกแรกคลอด
ดูดเมือกและขี้เทาออกจากปาก จมูกและคอทารก ให้มากที่สุด
เตรียมกุมารแพทย์คอยช่วยเหลืออาจต้องResuscitrate
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เตรียมช่วยเหลือภาวะ Hypothermia / Hypoglycemia /
Meconium aspiration / Hypocalcemia และภาวะอื่นๆ
ข้อวิจนิจฉัยการพยาบาล
1.มีโอกาสคลอดยากเนื่องจากทารกตัวโต
2.ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดFetal distress เนื่องจากCord compression จากภาวะน้ำคร่ำน้อย
4.ทารกแรกเกิดอาจเกิดภาวะHypothermia / Hypoglycemia / Meconium aspiration / Hypocalcemia และภาวะอื่นๆ
5.มารดามีโอกาสตกเลือดหลังคลอด และติดเชื้อหลังคลอด
3.วิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์/แรกเกิด
การดูแลรักษาก่อนคลอด
1.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
2.ถ้าปากมดลูกยังไม่สุก
ต้องกระตุ้นด้วยProstaglandin E2 ป้ ายปากมดลูก
570355 นางสาวมุทิตา กัลายาณะการี