Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (3.POSTTERM ((ผลต่อมารดา ((วิตกกังวล,…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
2.PRETERM
ความหมาย การเจ็บครรภ์และการคลอด
ระหว่างอายุครรภ์ 28 -37 สัปดาห์
น้ำหนักทารกแรกคลอด 1,000 - 2,500 กรัม
พบร้อยละ 10 ของการคลอด มดลูกหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 8 ครั้งต่อชั่วโมง
CX DILATE > 1CM. EFFACEMENT >80%
การวินิจฉัย preterm
พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาที Duration > 30 วินาที
มีการบางและเปิดขยายของปากมดลูก
1.PROM
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกก่อนที่จะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Preterm Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้ำคร่ำก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
Term Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วที่อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป
Prolonged rupture of the membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้ำคร่ำนานเกิน 24 ชั่วโมง ก่อนทารกคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
1.การติดเชื้อของทารกในครรภ์ ทารกแรกคลอด และมารดา
การติดเชื้อจะสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ถุงน้ำคร่ำแตก
2.การคลอดก่อนกำหนด
3.สายสะดือโผล่ มักพบร่วมกับทารกท่าผิดปกติ
4.Respiratory distress syndrome พบร้อยละ 10-40 ที่อายุครรภ์ < 37 wk
5.ทารกพิการแต่กำเนิด เช่น Club foot , Potter syndrome
เนื่องจากทารกอยู่ในสภาพแออัด ขยับตัวลำบากเป็นเวลานาน
3.POSTTERM
อุบัติการณ์ของการตั้งครรภ์เกินกำหนด พบได้ร้อยละ 4-19 ของการตั้งครรภ์
พบบ่อยใน Elderlyprimigravidarum ส่งผล Uteroplacental insufficiency Oligohydramnios
ผลต่อทารก
•1.Midpelvis arrest / CPD / Shoulder dystocia เพราะน้ำหนักตัวทารกเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการเจริญเติบโตเรื่อยๆ ร้อยละ 25-30 น้ำหนักทารก >4,000 กรัม
•2.Cord compression / Meconium aspiration / Fetal distress จากน้ำคร่ำน้อยลง Oligohydramnios Electronic fetal heart rate monitoring พบลักษณะ Variable or prolonged deceleration
•3.Meconium aspiration น้าคร่าปนขี้เทาเหนียวข้นมาก Thick meconium สาลักขี้เทาจนไปอุดตันที่หลอดลมส่วนปลายของปอด
•4.Dysmaturity บางครั้งรกเสื่อมสภาพทำให้ทารกหยุดการเจริญเติบโต มีผลเพิ่มอัตราตายปริกำเนิด
ผลต่อมารดา
วิตกกังวล
ได้รับอันตรายจากการคลอดเนื่องจากทารกตัวโต
การฉีกขาดของช่องทางคลอด การติดเชื้อ การตกเลือดหลังคลอด
การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ การหย่อนยานของอุ้งเชิงกราน
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
การเร่งคลอด สูติศาสตร์หัตถการ
และการดูแลทารกหลังคลอด
5.SHOULDER DYSTOCIA
สาเหตุ เกิดจากไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูก เชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป
ปัจจัยเสี่ยง 1.องค์ประกอบก่อนการคลอด 2.องค์ประกอบในการคลอด
การติดแน่นของไหล่หน้ากับกระดูกหัวหน่าว
ภายหลังจากที่ศีรษะทารกคลอดแล้ว…
.ไม่สามารถทำคลอดตามวิธีปกติได้
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายระหว่างคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
1.ต่อทารกแรกเกิด
1.1.ขาดออกซิเจนขณะคลอด
1.2.บาดเจ็บขณะคลอด กระดูกต้นแขนหรือกระดูกไหปลาร้าหัก
บาดเจ็บต่อเส้นประสาท Brachial plexus ทำให้เกิด Erb , s palsy
1.3.มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก ทำให้มีสติปัญญาบกพร่อง
1.4.อาจตายขณะคลอด
2.ต่อมารดา
2.1.การฉีกขาดของปากมดลูก / ช่องคลอด / ฝีเย็บ
2.2.เสียเลือดมาก
4.DYSTOCIA
การคลอดผิดปกติ
การก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า และไม่เป็นไปตาม Friedman curve
ลักษณะของการคลอดยาก 3 ชนิด ตาม Friedman curve ซึ่งแบ่งตามระยะเวลาของการคลอด
1.การคลอดยาวนาน(Prolongation disorder)
•ระยะปากมดลูกเปิดช้ายาวนาน: Prolonged latent phase
2.การคลอดล่าช้า (Protraction disorder)
ระยะปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า
ระยะส่วนนาเคลื่อนต่ำล่าช้า (Protracted descent)
3.การคลอดหยุดชะงัก(Arrest disorder)
ระยะลดลงยาวนาน ระยะการเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงักในระยะหลัง
ระยะการเคลื่อนต่ำของส่วนนำหยุดชะงัก
ระยะการเคลื่อนต่ำของส่วนนำล้มเหลว (Failure of descent)