Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 3 และ 4 (EARLY POSTPARTUM HEMORRHAGE…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 3 และ 4
EARLY POSTPARTUM HEMORRHAGE
การตกเลือดในระยะที่ 3-4 ของการคลอดและ 24 ชั่วโมงแรก หลังคลอด เสียเลือดมากกว่า 500 มิลลิลิตรขึ้นไปและ 1000 มล (C/S)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด
Uterine atony Tone
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
1Prolong labour / Precipitate labour
2 Distened uterus : Twins / Polyhydramnios / Macrosomia
3.สูติศาสตร์หัตถการ : Internal version / F/E
4.การให้ยาสลบ : Ether / Halothane
5.Multiparity / History of PPH
6.Scar : C/S Hysterotomy Myomectomy
7.Moma uteri ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
8.ติดเชื้อภายในโพรงมดลูก / เยื่อหุ้มทารกติดเชื้อ
9.Abruptio placenta และมี Couvelaire uterus
10.Uterine inertia ในระยะคลอดไม่ทราบสาเหตุ
11.Induction of labourการกระตุ้นให้มีการเจ็บครรภ์
12.Bladder full ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
13.การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดีในระยะหลังคลอด
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตำแหน่งของการฉีกขาด
1.แผลผ่าตัดฝีเย็บ
2.ฝีเย็บ / ส่วนบนของปากช่องคลอด
เช่น Clitoris และช่องคลอด
3.ปากมดลูก
4.การแตกของมดลูกHemayoma
บริเวณ Ischial spine หรือในแผลฝีเย็บภายหลังที่เย็บซ่อมแซมแล้ว
รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก
รกลอกตัวแล้วแต่ยังค้างในโพรงมดลูก
ลอกตัวแล้วสมบูรณ์แต่เกิดภาวะ Constriction ring หรือ Cervical cramp ลอกตัวเพียงบางส่วนPlacenta accreta
เศษรกค้างในโพรงมดลูก
มักเกิดจาก
ช่วยคลอดรกไม่ถูกวิธี
รกใหญ่และตดิ *รกน้อย
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด:Thrombin
DIC จากภาวะ Abruptio placenta , DFIU , Missed abortion, Septic shock, PIH(HELLP) , Amniotic fluid embolism
โรคเลือดต่างๆITP, Leukemia , Aplastiic anemia
การได้รับยาการต้านการแข็งตัวของเลือด
การวินิจฉัย
ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด > 500 cc
อาการและอาการแสดง ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น BP drop PR เบาเร็ว RR เร็ว
คล่ำทางหน้าท้อง พบ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตรวจดูการฉีกขาดหรือหายไปของรก
ตรวจเลือดเพื่อหาความผดิปกติของการแข็งตัวของเลือด
การรักษา
1.ระยะก่อนคลอด
2.ระยะคลอดและหลังคลอด
ทำคลอดในระยะที่ 2 และ 3 อย่างถูกต้องและเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการทำ หัตถการอย่างยาก หรือเพิ่มความเสี่ยงอื่นๆ
ภาวะแทรกซ้อน
1.ระยะแรก
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือด
2.ระยะหลัง
ติดเชื้ด AIDS / Syphilis / Hepatitis B *Diabetes insipidus
Nursing diagnosis: PPH
อาจเกิดภาวะ Hypovolemic shock เนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
เสียสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์เนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี / หนทางคลอดฉีกขาด / มีเศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้างในโพรงมดลูก /
ซีด / อ่อนเพลีย/ ติดเชื้อง่าย/ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง เนื่องจากสูญเสียเลือดจำนวนมาก
Placenta adheren
มี3 ระดับ
Placenta accreta บุกรุกเข้าไปชิดกล้ามเนื้อมดลูก แต่ยังไม่เข้าชั้นกล้ามเนื้อ
Placenta increta บุกรุกเข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ยังไม่เข้าช้ัน Serosa
Placenta precretaบุกรุกเข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูก จนทะลุเข้าชั้น Serosa
ปัจจัยส่งเสริม
พบได้บ่อยในรายเลือดหล่อเลี้ยง Decidua ไม่ดี
เคยผ่าตัดที่มดลูกมาก่อนC/Sพบว่ารายที่ C/S และรกติด มากกว่าร้อยละ 50ตรวจรกพบว่ามีใยกล้ามเนื้อมดลูกติดอยู่ด้วย
เคย D/C abortion
Multiparity
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยก่อนคลอดทำได้น้อยมาก มักวินิจฉัยได้ในระยะที่ 3 ของการคลอด
1.จากการล้วงรกหลังคลอด ในรายรกคลอดช้าหรือ ตกเลือด หรือ
2.ในรายที่ไม่สามารถเซาะรกออกจากมดลูกหลังผ่าตัด ไม่ได้
การรักษา
ประคับประคองสารน้ำและเลือด ยาแก้ปวด ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
พยายามเซาะรกซึ่งมักทำได้ในราย Placenta accreta ที่มีการติดหย่อมเล็กๆเท่านั้นส่วนใหญ่มักตัดมดลูกทิ้ง
ตัดมดลูกออก