Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด ที่ 1และ2 (6.Uterine rupture (ภาวะแทรกซ้อน (1.APH…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ที่ 1และ2
4.Dystocia
การคลอดยาก
ลักษณะของการคลอดยาก
1.การคลอดยาวนาน(Prolongation disorder)
-ระยะปากมดลูกเปิดช้ายาวนาน: Prolonged latent phase
2.การคลอดล่าช้า(Protraction disorder)
-ระยะปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า
(Protracted active phase of dilatation)
-ระยะส่วนนำเคลื่อนต่ำล่าช้า(Protracted descent)
3.การคลอดหยุดชะงัก(Arrest disorder)
การป้องกันและการรักษา
1.Good antenatal care
2.ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนที่ปากมดลูกจะพร้อม (Unripen cervix)
3.False labour pain ให้รักษาด้วยRest and sedation
4.ในระยะเจ็บครรภ์คลอด ดูแลด้านจิตใจเพื่อลดความวิตกกังวล/
ให้ยาระงับปวดอย่างเหมาะสม
5.เมื่อถุงน้ำคร่ำแตกแล้วทารกควรคลอดภายใน 24 ชั่วโมง
6.ภาวะ CPD / Malposition /Malpresentation พิจารณา C/S
เนื่องจากคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
7.อาจพิจารณาช่วยคลอดโดยInduction of labour ( Oxytocin / Amniotomy) สูติศาสตร์หัตถการ(F/E V/E)
การพยาบาล
1.ประเมินปัจจัยสำคัญที่มีผล
ต่อการดำเนินการคลอด
1.1.การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะปากมดลูกเปิดช้า
**
ทุก 2-4 ชั่วโมง
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
**
ทุก 30-60 นาที
ระยะที่สองของการคลอด
**
ทุก 5-15 นาที
1.2.ทารกในครรภ์
ท่า/ ทรง / ขนาด / ระดับส่วนนำ
1.3.สภาพเชิงกราน
ประวัติการคลอด/ ประวัติการเจ็บป่ วย
เกี่ยวกับกระดูกเชิงกราน
1.4.ปัจจัยอื่นๆ
อายุ/ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอด
/ร่างกายและจิตใจ
2.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะเวลาที่เข้าสู่ระยะคลอด
ตรวจครรภ์ และตรวจภายในเพื่อประเมินการเคลื่อนต ่าและ หมุนของทารก
PV เมื่อถุงน ้าแตก/เจ็บครรภ์มาก/ มีลมเบ่ง
3.ในรายที่ปากมดลูกเปิดช้า
ควรประเมินเวลาที่เริ่มเจ็บครรภ์จริงใหม่
4.ในรายที่คลอด
ล่าช้าหรือหยุดชะงัก
ให้ประเมินการ หดรัดตัวของมดลูก/
ประเมินสภาพเชิงกราน/ประเมินสภาพทารกอีกครั้งหนึ่ง
5.ในรายที่ส่วนนำคลื่อนต่ำล่าช้าหรือหยุดชะงัก
ในระยะที่2 ของการคลอด
ให้ประเมิน การหดรัดตัวของมดลูก และแรงเบ่ง
พร้อมช่วยนวดบริเวณฝี เย็บเพื่อลดแรงต้าน
6.ประเมินภาวะสุขภาพผู้คลอด
7.ประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อ
หนทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือด(จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี/การฉีกขาด)อาจถึงขั้นช็อค
ภาวะแทรกซ้อนจากการดมยา
เพิ่มหัตถการในการช่วยคลอด
ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
Fetal distress
Infection
Birth injury / อันตรายต่อสมอง กล้ามเนื้อกระดูก
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
เพิ่มอัตราการตายปริก าเนิด
5.Shoulder dystocia
ไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูก
เชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป
ปัจจัยเสี่ยง
1.องค์ประกอบก่อนการคลอด
1.ทารกตัวโต/เคยคลอดทารกตัวโตมาก่อน
2.มารดาอ้วน/น ้าหนักเพิ่มมาก
เกินไป BMI>30
3.มารดาป็นเบาหวาน
4.ครรภ์เกินกำหนด>42 สัปดาห์
5.มารดาอายุมาก
6.ทารกเพศชาย
7.มีประวัติคลอดไหล่ยากมาก่อน
8.ช่องเชิงกรานแคบเป็นชนิด
Platypelloid
2.องค์ประกอบในการคลอด
มีความผิดปกติในระยะที่1ของการคลอด
2.Protraction disorder
3.Arrest disorder
4.ระยะที่2 ของการคลอดยาวนาน
5.ได้รับOxytocin เสริมการหดรัดตัวของมดลูก
6.การช่วยคลอดด้วย Midforceps V/E
ภาวะแทรกซ้อน
ขาดออกซิเจนขณะคลอด
บาดเจ็บขณะคลอด
มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก
ทำให้มีสติปัญญาบกพร่อง
อาจตายขณะคลอด
การฉีกขาดของปากมดลูก/
ช่องคลอด/ ฝี เย็บ
เสียเลือดมาก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.ทารกมีโอกาสเกิดภาวะFetal distress
จากการ คลอดไหล่ยาก
2.ทารกมีโอกาสได้รับอันตรายจากการช่วยคลอดได้
3.หนทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติ
เนื่องจากการคลอดไหล่ยาก
การพยาบาล
1.ประเมินการคลอดไหล่ยาก
2ให้การช่วยเหลือ
การคลอดไหล่ยาก
2.1 ตัดฝีเย็บให้กว้างพอ
2.2 ให้ผู้ช่วยกดเหนือหัวหน่าวSuprapubic pressure
ในขณะที่ผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกลงข้างล่าง
2.3.ใช้วิธีMcRobert maneuver
3.ถ้าไหล่ยังไม่คลอดรายงาน
แพทย์และเตรียมพร้อมให้การช่วยเหลือ
4.หลังคลอดประเมินสภาพร่างกายทารก
5.ตรวจสอบการฉีกขาดของหนทางคลอดและซ่อมแซมฝีเย็บ
6.ดูแลด้านจิตใจ
6.Uterine rupture
ประเภท
Complete rupture
รอยแตกทะลุชั้น Serosa ทารกมักหลุดจากโพรงมดลูกไปอยู่ในช่องท้อง
Incomplete rupture
มีการฉีกขาดของผนังมดลูกและกล้ามเนื้อมดลูกรอยแตก
ไม่ทะลชุ นั้ Serosa
มีการฉีกขาดของชั้น กล้ามเนื้อ
ทารกมักหลุดเข้าไป Broad ligament
สาเหตุ
1.ปัจจัยชักนำที่ปรากฎมา
ก่อนการตั้งครรภ์ครั้งนี้
1.ผ่านการคลอดมาหลายครั้งแล้ว
2.c/s
2.ปัจจัยชักนำที่ปรากฎขณะตั้งครรภ์รนี้
การวินิจฉัย
1.อาการและอาการแสดง
ที่เตือนว่ามดลูกจะแตก
2.อาการและอาการแสดงของมดลูกที่แตกแล้ว
การวินิจฉัยแยกโรค
Abruptio placenta
Ectopic pregnancy
Tetanic uterine
contraction
ภาวะแทรกซ้อน
1.APH & PP.shock
2.Infection
3.Fetal distress
4.อัตราการตายของมารดาเพิ่มขึน
การรักษา
1.นึกถึงภาวะมดลูกแตกในรายที่สงสัย
2.เมื่อเกิดภาวะมดลูแตก
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลกู แตกเนื่องจากเคยผ่าตดั คลอดทางหน้าท้อง
มาก่อน
เสี่ยงต่อภาวะช็อคเนื่องจากเสียเลือดมากจากภาวะมดลูกแตก
ต่อทากรก
ต่อมารดา
ต่อทารก
ต่อมารดา
นางสาวมุทิตา กัลยาณะการี 570355