Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (1 Premature rupture of membrane (PROM),…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
1 Premature rupture of membrane (PROM)
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกก่อนที่จะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์
Preterm premature rupture of membranes ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้ำคร่ำก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
Term premature rupture of membranes ภาวะภุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วที่อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ขึ้นไป
Prolonged rupture of the membranes ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้ำคร่ำนานเกิน 24 ชั่วโมง ก่อนทารกคลอด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ประวัติครรภ์ก่อนมีPROM /Preterm
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ chorioamnionitis (แบคทเีรีย / ไวรัส)
การติดเชื้อทางโรคเพศสัมพันธุ์ที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
การติดเชื้อเรื้อรังของระบบทางเดินปัสสาวะ
Cervical incompetence..ปากมดลูกปิดไม่สนิท
การเจาะถุงน้ำคร่ำ amniocentesis
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเช้ือของทารกในครรภ ์ ทารกแรกคลอด และมารดา
การคลอดก่อนกำหนด
สายสะดือโผล่มักพบร่วมกับทารกท่าผิดปกติ
Respiratory distress syndrome
ทารกพิการแต่กำเนิด เช่น Club foot , Potter syndrome
2 Preterm
การเจ็บครรภ์และการคลอดระหว่างอายุครรภ์ 28 - 37 สัปดาห์
การวินิจฉัย
พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาที
Duration > 30 วินาที
มีการบางและเปิดขยายของมดลุก
การดูแลรักษา
Bed rest ในท่านอนตะแคงช่วยลดแรงกดดันต่อปากมดลูกไม่ให้เปิดขยายเพิ่มขึ้น
ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูกเมื่อจำเป็น ไม่ควรกระตุ้นหรือตรวจบ่อยครั้ง
ตรวจดู Uterine contraction
ฟัง FHS สม่ำเสมอ
ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์ Bricanyl ventolin
Drugs
Tocolytic drug
เพื่อยืดระยะเวลาการตั้งครรภอ์ย่างน้อย 48 hrs
ลดความเสี่ยงการเสียชีวิตของทารกจากภาวะ RDS , IVH ,NEC
Dexamethasone/ Glucocorticoid
Antibiotic
ให้ในรายที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดได ้ ป้องกันการติดเช้ือ GBS
3 Postterm
การตั้งครรภ์ที่มีอายุ > 42 สัปดาห์
สาเหตุ
มีประวัติครรภ์เกินกำหนด
ทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง
ทารกที่ต่อมหมวกไตฝ่อ
การตั้งครรภ์ในช้องท้อง
ผลต่อทารก
Midpelvis arrest / CPD/ Shoulder dystocia
Cord compression จากน้ำคร่ำน้อยลง
Meconium aspiration น้ำคร่ำปนขี้เทาเหนียวข้นมาก
Dysmaturity รกเสื่อมสภาพ
Hypoglycemia
Postmaturity syndrome
ผลต่อมารดา
วิตกกังวล
ได้รับอันตรายจากการคลอดเนื่องจากทารกตัวโต
การฉีกขาดของช่องทางคลอด การติดเชื้อ การตกเลือดหลังคลอด
การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ การหย่อนยานของอุ้งเชิงกราน
4 Dystocia การคลอดยาก
ลักษณะของการคลอดยาก
การคลอดยาวนาน (Prolongation disorder)
การคลอดล่าช้า (Protraction disorder)
การคลอดหยุดชะงัก (Arrest disorder)
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ติดเชื้อ
หนทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือด (จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี)
ภาวะแทรกซ้อนจากการดมยา
เพิ่มหัตถการในการช่วยคลอด/เพิ่มความเครียด
ต่อทารก
Fetal distress
Infection
Birth injury
ภาวะแทรกซ้อนในการคลอด
การพยาบาล
ประเมินปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ทารกในครรภ์
สภาพเชิงกราน
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะเวลาเข้าสู่ระยะคลอด
ตรวจครรภ์และตรวจภายใน
PV เมื่อถุงน้ำแตก/ เจ็บครรภ์มาก/ มีลมเบ่ง
ในรายที่ปากมดลูกเปิดช้า
อาจเป็น False laour pain
ควรประเมินเวลาที่เริ่มเจ็บครรภ์จริงใหม่
ในรายที่คลอดล่าช้าหรือหยุดชะงัก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินสภาพเชิงกราน
ประเมินสภาพทารก
5 Shoulder dystocia เกิดจากไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูกเชิงกรานเล็กเกินไป
ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนการคลอด
ทารกตัวโต/เคยคลอดทารกตัวโตมาก่อน
มารดาอ้วน/น้ำหนักเพิ่มมาก
มารดาเป็นเบาหวาน
ครรภ์เกินกำหนด >42 สัปดาห์
มารดาอายุมาก
ในการคลอด
มีความผิดปกติในระยะที่ 1 ของการคลอด
Protraction disorder
Arrest disorder
ระยะที่2 ของการคลอดยาวนาน
ได้รับ Oxytocin เสริมการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารกแรกเกิด
ขาดออกซิเจนขณะคลอด
บาดเจ็บขณะคลอด
มีปัญหาทำลายระบบประสาท
อาจตายขณะคลอด
ต่อมารดา
การฉีกขาดของปากมดลูก/ช่องคลอด/ฝีเย็บ
เสียเลือดมาก
การพยาบาล
ประเมินการคลอดไหล่ยาก
ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก
ถ้าไหล่ยังไม่คลอดให้รายงานแพทย์ เตรียมพร้อมให้การช่วยเหลือ
หลังคลอดประเมินสภาพทารก
ตรวจสอบการฉีกขาดของหนทางคลอดและเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
ดูแลด้านจิตใจ