Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด (9.Prolapse cord (การรักษา (การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน,…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
8. Vasa previa
การวินิจฉัย
1.อาการและอาการแสดง 1.1 ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก -PV เห็นเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับ FHS -ส่องตรวจถึงน้ำคร่ำ - U/S อาจเห็นเส้นเลือดทอดต่ำกว่าส่วนนำ 1.2 หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว Fetal distress / มีเลือดออกทางช่องคลอดเนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดของทารกในครรภ์
-
3.Retrospective method (การวินิจฉัยย้อนหลัง) ตรวจรกและถุงน้ำคร่ำพบมีรอยฉีกขาดของเว้นเลือด ที่ทอดอยู่บนเยื่อหุ้ม Fetal membrane
การรักษา
- ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตกให้ C/S ทุกราย
- การเจาะถุงน้ำคร่ำ ต้องนึกถึงภาวะนี้เสมอ ในรายรกเกาะต่ำ /ครรภ์แฝด
ปัจจัยส่งเสริม
- รกร้อยชนิด Placenta succenturiata ร่วมกับรกเกาะต่ำ
3.ครรภ์แฝด (เนื่องจากมักพบรกเกาะต่ำ)พบบ่อยกว่าครรภ์เดี่ยวถึง 9 เท่า / รกครรภ์แฝดสาม มักพบ Velamentous insertion เกือบทุกราย
- Velamentous insertion มักพบร่วมกับรกเกาะต่ำ
10 .Fetal Distress
-
การรักษา
2.ความผิดปกติจาก Electronic fetal monitoring Bradycardia น้อยกว่า 110 ครั้งต่อนาที mild 100-119 bpm ไม่มีปัญหา Moderate 80-100 bpm Severs น้อยกว่า 80 bpm นานมากกว่า 30 นาที -Tachycardia FHS มากกว่า 160 ครั้งต่อนาที Mild 161-180 bpm Moderate มากกว่า 181 bpm
1.ประเมินภาวะ Prolapse cord 2.หยุดให้ Oxytocin ทันที 3.นอนตะแคง 4.ให้ออกซิเจน 8-10 ลิตรต่อนาที 5.ฉีดน้ำเกลือเข้าโพรงมดลูก 6.กระตุ้นหนังศีรษะทารก
1.ภาวะ Meconium stained ในน้ำคร่ำMild meconiam stained ร่วมกับ FHS ที่ผิดปกคิแสดงถึงภาวะเลือดเป็นกรดModerate to Thick meconiam stained ร่วมกับภาวะเลือดเป็นกรดสัมพันธ์กับคะแนน Apgar Score นาทีที่ 1,5
สาเหตุ
-
เฉียบพลัน - มีอาการเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด เช่น Prolapse cord, Abruptio placenta
9.Prolapse cord
ชนิดของสายสะดือย้อย
-Foreling cord Funic presentstation สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก -Over prolapse cord สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติอยู่ข้างๆส่วนนำของทารกถุงน้ำคร่ำอาจแตกหรือยังไม่แตกก็ได้ -Occult prolapse cord สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติอยู่ข้างๆส่วนนำของทารกถุงน้ำคร่ำอาจแตกหรือไม่แตกก็ได้
การวินิจฉัย
-คลำพบสายสะดือ ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ-เห็นสายสะดือโผล่พันช่องคลอดออกมา-FHS ผิดปกติ monitor พบ FHR pattern แบบ Variable deceleration และ bradycardia-Ultrasound
ปัจจัยส่งเสริม
-ทารกท่าผิดปกติ ท่าก้น ท่าขวาง ท่าหน้าอก
-CPD
-ทารกไม่ครบกำหนด-Amniotomy หรือ prom ก่อนที่ส่วนน่าจะลงมาสู้ช่องเชิงกราน
การรักษา
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
-จัดท่าไม่ให้ส่วนนำลงมากดสายสะดือ-Trendelenberg, Knee-chest,sim-สอดมือดันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ-ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ-ถ้าสายสะดืออยู่ในช่องคลอดอุ่นและไม่แห้งไม่ควรดันกลับเข้าโพรงมดลูก-ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง
การคลอด
-C/S ดีที่สุด-F/E กรณีปากมดลูกเปิดหมดไม่มีภาวะ CPD –ช่วยคลอดท่าก้น-ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 7-8 cm. พยายามไม่ให้ถุงน้ำคร่ำแตกสามารถคลอดทางช่องคลอดได้-ทารกตายให้ NL-รายมี CPD ต้องทำ C/S