Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเเทรกซ้อนในระยะคลอด ที่ 1 2 3 เเละ 4 (Uterrine inversion (Uterine…
ภาวะเเทรกซ้อนในระยะคลอด
ที่ 1 2 3 เเละ 4
PROM
Uterine rupture
1.Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น Serosa ทารกมักหลุดจากโพรงมดลูกไปอยู่ในช่องท้อง
2.Incomplete rupture มีการฉีกขาดของผนังมดลูกและกล้ามเนื้อมดลูกแตก
อาการ
ปวดท้องลดลง บางรายบอกว่าเหมือนมีอะไรแยกออก
บางรายมีเลือดออกทางช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
APH & PPH shock
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
เพิ่มอัตตราตายปริกำเนิดร้อยละ 50-70
อัตราตายของมารดาเพิ่มขึ้น สัมพันธ์กับการเสียเลือด
การรักษา
เมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก แก้ไข shock ให้เลือดแทน
ให้ยาปฏิชีวนะ
เย็บซ่อมแซมมดลูกหรือตัดมดลูกทิ้ง
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้น
พบได้ทุกอายุครรภ์ ไตรมาสแรก การขูดมดลูกในรายแท้ง
ไตรมาสสอง การตรวจน้ำคร่ำ มักพบได้บ่อยในขณะรอคลอดและมีถุงน้ำคร่ำแตกแล้วหรือหลังคลอดทันที รวมถึงการผ่าตัดคลอดด้วย
อาการ
ระยะแรก จะหอบเหนื่อย หลอดลมตีบ เขียวขึ้นมาทันทีทันใด ไม่กี่นาทีต่อมาหัวใจและปอดหยุดทำงาน
ระยะที่ 2 เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอด มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การรักษา
ให้ Oxyrenation อย่างเพียงพอ
2.ป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำ
3.การป้องกันและแก้ไขโดยเร็ว
การแตกของ Vasa previa
ปัจจัยส่งเสริม
Velamentous insertion มักพบร่วมกับรกเกาะต่ำ
2.รกน้อยชนิด Placenta succenturiata
3 ครรภ์แฝด
อาการและอาการแสดง
1.ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก PV เห็นหรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นขาจังหวะกับ FHS
u/s อาจเห็นเส้นเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
2.หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว Fetal distress มีเลือดออกทางช่องคลอด
การรักษา
การเจาะถุงน้ำคร่ำ ต้องนึกถึงภาวะนี้เสมอในรายรกเกาะต่ำ ครรภ์แฝด
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้ C/S ทุกราย
3.ถ้าวินิจฉัยได้ภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก ต้องยุติการ ตั้งครรภ์ทันที
Prolapse cord ( สายสะดือย้อย )
ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ Occult prolapse cord หรือ อยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ Forelying cord Funic resentation หรือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา Overt prolapse cord
ปัจจัยส่งเสริม
1.ทารกท่าผิดปกติ ท่าก้น ท่าขวาง ท่าหน้า
2.CPD
ทารกไม่ครบกำหนด
4.Amniotomy หรือ PROM ก่อนที่ส่วนนำจะลงมาสู่ช่องเชิงกราน ( ststion 0 )
การรักษา
1.การช่วยเหลือแบบฉุกเฉินจัดท่ามารดาไม่ให้ส่วนนำลงมากดสายสะดือโดยใช้หมอนรองก้นให้สูงขึ้น
2.การคลอด C/S ดีที่สุด ยกเว้นในรายทารกตายหรือพิการแต่กำเนิด
Bradycardia 100 ครั้ง/นาที
Tachycardia 160 ครั้ง/นาที
meconium stained
ภาวะที่ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการ
การป้องกัน
1.ให้นอนตะแคง
Oxytocin infusion pump ป้องกัน Hyperstimulation
3.Intravenous fluid ก่อนประมาณ 1000 ml ก่อนให้ Regional anesthesia
Uterrine inversion
Uterine atony Tone
Prolong labour
การหัดรัดตัวของมดลูกไม่ดีในระยะหลังคลอด
ติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
การให้ยาสลบ
สูติศาสตร์หัตถการ Internal version
ช่องทางคลอดฉีดขาด Tear
ตำแหน่งของการฉีกขาด
1.แผลผ่าตัดฝีเย็บ
2.ฝีเย็บ
3 ปากมดลูก
4.การแตกของมดลูก Hemayoma บริเวณ Ischial spine
รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก Tissue
มักเกิดจาก ช่วยคลอดรกไม่ถูกวิธี รกใหญ่และติด รกน้อย ( Placenta succenturiata )
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด Thrombin
เกิดจากภาวะAbruptio placenta DFIU septic shock
โรคเลือดต่างๆ ITP Leukemai Aplastiic anemia
การได้รับยาการต้านการแข็งตัวของเลือด Heparin
การรักษา
1.รักษาตามอาการ Acute blood loss
2.รักษาเพื่อห้ามเลือด รักษาที่สาเหตุ
Placenta adherent
Placenta increta บุกรุกเข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูกแต่ยังไม่เข้าชั้น Serosa
Placenta precreta บุกรุกเข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนทะลุเข้าชั้น Serosa
การรักษา
1.ประคับประคองสารน้ำและเลือด
2.ให้ยาแก้ปวด ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
3.ตัดมดลูก
Inversion of uterus
ภาวะที่ยอดมดลูกถูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก
อาจพ้นปากมดลูกออกมาหรือโผล่ออกมาถึงปากช่องคลอดหรือโผล่ออกมาทางแผลผ่าตัดในกรณี C/S
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ทำคลอดรกในกรณีที่รกยังไม่ลอกตัวหรือมีภาวะรกติด
ดึงสายสะดืออย่างแรง
มดลูกและปากมดลูกอยู่ในสภาวะคลายตัว
ดันยอดมดลูกที่หน้าท้อง
การรักษา
ให้สารน้ำละเลือดอย่างเพียงพอ
ดมยาสลบโดย Halothane เพื่อให้ทุกส่วนคลายตัว
ถ้ารกลอกตัวให้ดันกลับเข้าไปได้เลย
ถ้ายังไม่ลอกตัวต้องต้องเซาะรกออกก่อนทำการดันมดลูก เมื่อดันเข้าที่แล้วให้ oxytocin ทันทีพร้อมกับถอนมือออกมา
Shock in Obsterics
สาเหตุ
การตั้งครรภ์ระยะแรก Ectopic pregnancy
การตั้งครรภ์ระยะท้าย Placenta previa
ในระยะคลอดและหลังคลอด C/S PPH Placenta adherent
สภาวะที่เนื้อเยื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่พอ จนเซลล์ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติและทำให้เซลล์ตายในที่สุด
การวินิจฉัย
ปริมาณที่เลือดออก
อาการและอาการแสดง
V/S ชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดต่ำ
ผิวหนังเย็น ซีด เหงื่อออก ปัสสาวะออกน้อย
Fetal distress
1.Placenta accreta บุกรุกเข้าไปชิดกล้ามเนื้อมดลูกแต่ยังไม่เข้าชั้นกล้ามเนื้อ