Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Uterine rupture (การฉีกขาดหรือทะลของตัว…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
Uterine rupture (การฉีกขาดหรือทะลของตัวมดลูก)
สาเหตุ
ปัจจัยชักนำที่ปรากฎมาก่อนการตั้งครรภ์ครั้งนี้
ปัจจัยซักนำที่ปรากฏขณะตั้งครรภ์ครั้งนี้
ประเภท
Incomplete rupture มีการฉีกขาดของผนังมดลูกและกล้ามเนื้อมดลูกรอบแตกไม่ทะลุชั้น SerOsa มีการฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อทารกมักหลุดเข้าไป Broad ligament
Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น Serosa ทารกมักหลุดจากโพรงมดลูกไปอยู่ในช่องท้อง
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงที่เตือนว่ามดลูกจะแตก
อาการและอาการแสดงของมดลูกที่แตกแล้ว
ภาวะแทรกซ้อน
Infection เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
Fetal distressเพิ่มอัตราตายปริกำเนิดร้อยละ50-75
APH & PPH shock
อัตราตายของมารดาเพิ่มขึ้นสัมพันธ์กับการเสียเลือด
การรักษา
การเย็บซ่อมแซมมดลูกหรือตัดมดลูกทิ้งขึ้นกับรอยแตกและความต้องการมีบุตร
Exploratory lanaratoryทุกรายไม่ว่าทารกจะมีชีวิตหรือไม่
แก้ไขภาวะ Shock / ให้เลือดทดแทน / และให้ยาปฏิชีวนะ
ถ้าเลือดออกอีกอาจต้องทำการผ่าตัดเพื่อผูก Hypogastric arteries ทั้งสองข้างภายหลังการผ่าตัดมดลูกออกแล้ว
นึกถึงภาวะมดลูกแตกในรายที่สงสัย / แก้ไขภาวะมดลูกแตกคุกคามถ้าคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ก็ควรC/S
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตกเนื่องจากเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องมาก่อน
เสี่ยงต่อภาวะช็อคเนื่องจากเสียเลือดมากจากภาวะมดลูกแตก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไม่สมดุลของน้ำและสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายภายหลังการผ่าตัด
Amniotic fluid embolism / AFE (ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้น)
สาเหตุและพยาธิสรีรวิทยา
1.ระยะแรกน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณปอดเกิดการหดเกร็งของหลอดเลือดและเกิดภาวะความดันเลือดสูงในปอด(Pulmonary hypertension) ร่วมกับภาวะขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
2.ระยะที่สองเกิดภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต Left ventricular failure ทำให้เกิดปอดบวมน้ำ
อาการและอาการแสดง
1.ระยะแรกระยะภาวะโลหิตไหลเวียนล้มเหลว (Hermodynamic collapse)จะเหนื่อยหอบหลอดลมตีบเขียวขึ้นมาทันทีทันใดจนเกิดภาวะขาดออกซิเจนร่วมกับอาการความดันโลหิตต่ำ
2.ระยะที่2ระยะภาวะเลือดไม่แข็งตัว (Coagulopathy) ระยะนี้เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัวซึ่งไม่ทราบกลไกแน่ชัดอาจเกิดการตกเลือดหลังคลอดมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การวินิจฉัย
2.การตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด(Lung Scan)อาจพบPerfusion defect
4.การตรวจหาเซลล์ผิวหนังขนอ่อน(Lanugo hair) เมือกของทารกหรือเซลล์จากทารกซึ่งต้องอาศัยการย้อมพิเศษ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)จะพบลักษณะ Tachycardia
1.การถ่ายภาพรังสีทรวงอกส่วนใหญ่ไม่พบความผิดปกติแต่อาจพบ Pulmonary edermaได้
การดูแลรักษา
Oxygenationอย่างเพียงพอ
การดูแลรักษา
Circulation ป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำและLeft ventricular a failure
Coagulopathy การป้องกันและแก้ไขโดยเร็ว
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
2.เกิดภาวะตกเลือดภาวะเลือดไม่แข็งตัวจากภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
3.ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนอย่างทันทีทันใด
1.เกิดอาการหอบเหนื่อย/ภาวะช็อค/ภาวะหัวใจล้มเหลวจากภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
การแตกของ Vasa previa
การวินิจฉัย
2. การตรวจเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่าเป็นเลือดของทารกหาFetal hemoglobin
3. Retrospective method(การวินิจฉัยย้อนหลัง) ตรวจรกและถุงน้าคร่าพบมีรอยฉีกขาดของเส้นเลือดที่ทอดอยู่บนเยื่อหุ้มFetal membrane
1. อาการและอาการแสดง
ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก PV เห็นหรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับ FHS (Synchronus)
หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว Fetal distress/มีเลือดออกทางช่องคลอดเนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดของทารกในครรภ์
ปัจจัยส่งเสริม
ครรภ์แฝด(เนื่องจากมักพบรกเกาะต่ำ)พบบ่อยกว่าครรภ์เดี่ยวถึง 9 เท่าครรภ์แฝดสามมักพบVelamentous insertion เกือบทุกราย
รกน้อยชนิด Placenta succenturiata ร่วมกับรกเกาะต่ำ
Velamentous insertion มักพบร่วมกับรกเกาะต่ำ
Prolapse cord (สายสะดือย้อย)
การรักษา
1. การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
1.3. ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
1.4. กรณีสายสะดือย้อยอยู่ในช่องคลอดซึ่งอุนและไม่แห้งทำให้ลด Vasospasm ไม่ควรดันกลับเข้าโพรงมดลูก
1.2. สอดมือเข้าช่องคลอดดันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ
1.5. ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึงโดยการใส่ NSS 500-700 มลทางสายสวนปัสสาวะ
1.1. จัดท่ามารดาไม่ให้ส่วนนำลงมากดสายสะดือโดยใช้หมอนรองกันให้สูงขึ้น / Trendelenberg / Knee-chest / Sim
2. การคลอด
2.2.FIE กรณีที่ปากมดลูกเปิดหมดส่วนนำลงมาต่ามากไม่มีภาวะ CPD
2.3. ช่วยคลอดท่ากันในรายที่ปากมดลูกเปิดหมดไม่มีภาวะ CPD
2.1. C/S ดีที่สุดยกเว้นในรายทารกตายหรือพิการแต่กำเนิด
2.4.ในรายที่ทารกเสียชีวิตให้ NL ยกเว้นในรายที่ CPD อาจต้องทำสูติศาสตร์หัตถการทำลายเด็กหรือ C / S
การวินิจฉัย
U / S
FHS ผิดปกติ
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
PV คลำพบสายสะดืออาจได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ
ชนิดของสายสะดือย้อย
Overt prolapse cord สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ากว่าส่วนนำของทารกในครรภ์และมักลงมาอยู่ในช่องคลอดและถุงน้าคร่ายังไม่แตก
Forelying cord Funic presentation สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ากว่าส่วนนำของทารกในครรภ์และถุงน้ำคร่ายังไม่แตก
ปัจจัยส่งเสริม
ทารกท่าผิดปกติท่ากันท่าขวางท่าหน้า
CPD
ทารกไม่ครบกำหนด
Amniotomy หรือ PROM ก่อนที่ส่วนนำจะลงมาสู่ช่องเชิงกราน (station 0)
Fetal distress:ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ (abnormal FHR pattern) เช่นน้อยกว่า 110 ครั้ง / นาทีหรือมากกว่า 160 ครั้ง / นาที่ร่วมกับอาการผิดปกติอื่นๆหรือมีรูปแบบการเต้นของหัวใจแบบ late deceleration หรือ variable deceleration เป็นต้น
มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ (meconium stained of amniotic fluid) แบ่งตามความรุนแรง
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำเล็กน้อย (thin หรือ mild meconium stained) น้ำคร่ำจะมีสีเหลืองขี้เทาปนในน้ำคร่ำปานกลาง (moderate meconium stained) น้ำคร่ำจะมีสีเขียวปนเหลืองขี้เทาปนในน้ำคร่ำมาก (thick mecanium stained) น้ำคร่ำจะมีสีเขียวคล้ำและขัน
ทารกดิ้นน้อยลง
ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
สาเหตุ
1. Umbitical cord compression
คือภาวะที่สายสะดือถูกกดขณะมดลูกมีการหดรัดตัวทำให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะ fetal distress ที่พบบ่อยที่สุดพบในรายที่มีภาวะน้ำคร่ำน้อยหรือสายสะดือพลัดต่ำ
2. Uteroplacental insufficiency (UPI)
คือภาวะที่การไหลเวียนเลือดไปสู่รกไม่เพียงพอทำให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนโดยสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ uteroplacental insufficiency ได้แก่
Uterine hyperactivity ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดการได้รับยากระตุ้นหดรัดตัวของมดลูกเป็นต้น
Placental dysfunction ในสตรีครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงการตั้งครรภ์เกินกำหนดการสูบบุหรี่ในขณะตั้งครรภ์เป็นต้น
Maternal hypotension ภาวะตกเลือด supine position, sympathetic paralysis ที่เกิดจากการได้รับยาระงับความรู้สึก(anesthesia)เป็นต้น
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีมีครรภ์และทารกในครรภ์
ผลต่อทารก
อาจทำให้ทารกเกิดภาวะทุพพลภาพอย่างถาวรหรือรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต
ผลต่อสตรี
พบว่าไม่มีผลต่อร่างกายโดยตรงแต่มีผลทางด้านจิตใจโดยทำให้สตรีมีครรภ์เกิดความกลัวหรือวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์เป็นต้น
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
ได้แก่ การดิ้นของทารกในครรภ์การแตกของถุงน้ำคร่ำลักษณะสีและปริมาณของน้ำคร่ำ
การตรวจร่างกาย
โดยการตรวจครรภ์อาจพบเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ผิดปกติเช่น FHS ของทารกช้าหรือเร็วกว่าปกติและถ้าหากบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกด้วย EFM จะพบรูปแบบการเต้นของหัวใจทารกแบบ late deceleration หรือ variable deceleration ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของภาวะขาดออกซิเจน
3.
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การเจาะเลือดทารก (scalp blood sampling)เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดเป็นกรดการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือการประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่องEFMซึ่งสามารถจำแนกความเสี่ยงตามFHRpattern
• Reassuring variable deceleration
• Fetal distress
• Non-reassuring variable deceleration
• Normal FHR pattern
• Fetal stress