Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 3 และ 4 (1.Early Postpartum Hemorrhage (สาเหตุ…
ภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 3 และ 4
1.Early Postpartum Hemorrhage
การตกเลือดในระยะที่3-4ชองการคลอด
และ24ชม.แรกหลังคลอดคลอดเสียเลืดมากกว่า500-1000ml
สาเหตุ
มดลูกไม่หดรัดตัวร้อยละ90
ช่องทางคลอดฉีกขาด
เลือดออกจากตำแหน่งรกเกาะ
รกหรือเศษรกค้างในมดลูก
1.Uterine atony tone
Prolong labour
Distened uterus
ติดเชื้อภายในมดลูก
2.ช่องทางคลอดฉีกขาดTear
แผลผ่าตัดฝีเย็บ
การแตกของมดลูกHemayoma
3.Placental bed bleeding
รกเกาะต่ำมีกล้ามเนื้อน้อยทำให้เลือดหยุดไม่ดี
รกมีขนาดใหญ่ , รกติดค้าง
4.รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูกTissue
รกลอกตัวแล้วแต่ยังค้างในมดลูก
เศษรกค้างในมดลูก
5.ความผิดปกติในการแข็.ตัวของเลือดThrombin
DICจากภาวะAbortion placenta
การวินิจฉัย
ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด>500cc
ซีด เหงื่อออก ตัวเย็ย BP drop
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
การรักษา
รักษาตามอาการ Acte blood loss และรักษาเพื่อห้ามเลือด
ภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
ปอดบวมน้ำ
2.Placenta adherent
3 ระดับ
1.Placenta accreta เข้าไปชิดกล้ามเนื้อมดลูกแต่ยังเข้าไม่ถึง
2.Placenta increta เข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูกแต่เข้าไม่ถึงชั้นSerosa
3.Placenta precreta บุกเข้าไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูกทะลุชั้นSerosa
ปัจจัยส่งเสริม
เคยผ่าตัดที่มดลูกมาก่อน
เคยD/C abortion
Multiparity
การรักษา
ประคับประคองสารน้ำและเลือด
เซาะรกมักทำในรายPlacenta accreta
3.Invertion of uterus
ภาวะที่ยอดมดลูกถูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก
อาจพ้นปากมดลูกออกมาถึงปากช่องคลอด
รกเกาะบริเวณส่วนบนของงมดลูกเมื่อออกแรงมาก :star:
ระดับมดลูกปริ้น
1.First degree= ยอดมดลูกไม่ลงปากมดลูก
2.Second degree=ยอดมดลูกเคลื่อนต่ำเลย
3.Third degree=ยอดมดลูกเคลื่อนต่ำออกพ้นช่องคลอด
4.Fourth degree=มีการปริ้นของช่องคลอดออกมาด้วย
ปัญจัยสำคัญ
ทำคลอดในกรณีที่รกยังไม่ลอกตัวหรือรกติด
ดันยอดมดลูกที่หน้าท้อง
ดึงสายสะดืออย่างแรง
การรักษา
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
ถ้ารกยังไม่ลอกตัวต้องเซาะรกก่อนดันมดลูก
กรณีไม่สามารถดันกลับคืนได้ต้องผ่าตัดทางหน้าท้อง
ทำคลอดสายสะดือด้วยวิธีการดึงสายสะดือ
4.Shock in Obstetrics
สาเหตุ
ระยะแรก Ectopic pregnancy,abotion
ระยะท้าย Placenta previa,PIH
ระยะคลอดและหลังคลอด C/S,Rupture uterine,PPH
การวินิจฉัย
ปริมาณเลือดที่ออก
V/Sชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดต่ำ
ผิวหนังเย็น ซีด เหงื่อออก พูดจาสับสน
สภาวะเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่พอ
การรักษา
การทำให้ปริมานเลือดที่ไหลเวียนกลับสภาพปกติ
กำจัดแหล่งที่มีการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวะอย่างเหมาะสม
Sheehan syndrome
ไม่หลั่งน้ำนม
Involution of breast
ลานหัวนมสีจาง
ปากมดลูกแต่ไม่ถึงปากช่องคลอด
เมื่อดันเข้าที่แล้วให้oxytocin
contrlled cord traction :star:
นางสาวศศิธร
งามปฐม
590157 กลุ่ม 13