Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Amniotic fluid embolism (AFE) (การช่วยเหลือ (Cardiopulmonary resuscitation…
Amniotic fluid embolism (AFE)
ลํกษณะสำคัญ 3 ประการ
Hypotension
Hypoxia
Consumptive coagulopathy
สาเหตุและพยาธิสรีรวิทยา
ระยะแรก
น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณปอดเกิดการหดเกร็งของหลอดเลือด
เกิดภาวะความดันเลือดสูงในปอด
ภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ระยะที่สอง
ภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
Left ventricular failure เกิดปอดบวมน้ำ
มีประวัติโรคภูมิแพ้ร้อยละ 40 เรียกว่า Anaphylactoid syndrome of pregnancy
การเกิด AFE
การแตกของถุงน้ำคร่ำ
เข้าสู่กระแสเลือดมารดา
มีการหดรัดตัวของมดลูกช่วยขับน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
*การได้รับยา Oxytocin ช่วยลดภาวะน้ำคร่ำรั่วเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก (ภาวะโลหิตไหลเวียนล้มเหลว : Hemodynamic collapse)
เหนื่อยหอบ หลอดลมตีบ เขียวขึ้นทีนทีทันใด เกิดภาวะขาดออกซิเจน BP สูง
หัวใจและปอดหยุดทำงาน
อาการชัก ร้อยละ 10-20
ระยะที่สอง(ภาวะเลือดไม่แข็งตัว : Coagulopathy)
ภาวะเลือดไม่แข็งตัว
ตกเลือดหลังคลอด มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Fibrinogenและเกร็ดเลือดต่ำ
PT,PTT ยาวนานขึ้น ภาวะ DIC
การวินิจฉัย
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
การตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด
การตรวจไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน
การวินิจฉัยแยกโรค
Septic shock
Aspiration pneurmonia
Acute myocardial infarction
Pulmonary thromboembolism
Placental abruption
การดูแลรักษา
Oxygenation อย่างเพียงพอ
Circulation
Coagulopathy
การช่วยเหลือ
Cardiopulmonary resuscitation
ผ่าตัดคลอด
ให้ออกซิเจน
ให้สารละลาย Crystalloid
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ ให้ยากระตุ้นหัวใจ Dopamine
เตรียมเลืด
รักษาภาวะDIC ให้ยา Heparin
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เกิดอาการหอบเหนื่อย/ภาวะช็อค/ภาวะหัวใจล้มเหลวจากภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
2.เกิดภาวะตกเลือด/ภาวะเลือดไม่แข็งตัวจากภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
3.ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนอย่างทันทีทันใด